กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า


“ โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอรสา ชูศรี

ชื่อโครงการ โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5188-1-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสะบ้า อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5188-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,525.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นกระบวนการวางรากฐานพัฒนาการเด็ก ซึ่งพบว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในช่วงขวบปีแรก จะช่วยให้เด็กมีพัฒนาการที่ดี ด้านร่างกาย สติปัญญาร่วมกับพัฒนาการอารมณ์ สังคม เด็กจะเห็นคุณค่าตนเอง มีความมั่นใจ และเรียนรู้ที่จะปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นรากฐานการพัฒนาคนแบบองค์รวม เด็กควรได้รับการเลี้ยงดู ได้รับความรัก ความอบอุ่น ได้รับอาหารที่เหมาะสมเพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากนมแม่อย่างเดียวจนอายุ ๖ เดือนเนื่องจากน้ำนมแม่เป็นอาหารที่ดีที่สุด เพราะมีสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของทารก มีภูมิคุ้มกันโรคซึ่งไม่มีในอาหารชนิดอื่นและ ที่สำคัญเป็นการสร้างสายใยความรัก ระหว่างแม่ ลูก สร้างความรักความอบอุ่น และพัฒนาสมองของลูกตั้งแต่แรกเกิด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เป็นกระบวนการเรียนรู้ในการปรับตัว ก่อเกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันสายใยรักที่ถ่ายทอดสู่ลูกจะเป็นแรงบันดาลใจให้แม่ไม่ทอดทิ้งลูกเลี้ยงลูกด้วยความรักความอบอุ่นทางใจซึ่งจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย และเติบโตเป็นเยาวชนรุ่นใหม่ที่มี สุขภาพกายและจิตที่ดี ไม่ก่อปัญหาสังคมเมื่อเติบโตในอนาคต
ในการนี้เพื่อให้อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6เดือนบรรลุตามเป้าหมายในปี2560 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะบ้าร่วมกับภาคีเครือข่ายตำบลเกาะสะบ้าจึงจัดทำโครงการ “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ ท้องถิ่น เอกชน องค์กรชุมชน เกิดความรู้ความเข้าใจ สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนและเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ให้มีความพร้อมในการพัฒนาและขับเคลื่อนทางสังคม ในการสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยการพัฒนาตามกระบวนการคุณภาพ ด้วยการจัดระบบบริการในพื้นที่ตามมาตรฐาน เชื่อมโยงสู่ครัวเรือนและชุมชน ให้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กอย่างต่อเนื่อง เน้นการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่างๆเพื่อให้เกิดการขยายงานการดูแลสุขภาพอนามัยแม่และเด็กอย่างครอบคลุม โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขแกนนำหมู่บ้าน ปราชญ์ชุมชนเป็นเครือข่ายหลักในการดำเนินงาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาเครือข่ายสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
  2. เพื่อขับเคลื่อน ตำบลต้นแบบ “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”
  3. สร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการสู่ครัวเรือนชุมชน
  4. เพื่อส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพอนามัยแม่และเด็กของชุมชนโดยชุมชน
  5. พัฒนาองค์ความรู้และระบบบริการอนามัยแม่และเด็กที่ได้มาตรฐานในพื้นที่ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในประชาชนและบุคลากรทุกระดับ
  6. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน แม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
  7. สร้างและสนับสนุน อสม.เชี่ยวชาญนมแม่ในการปรับทัศนคติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย
  2. พัฒนาศักยภาเครื่อข่าย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราการเลี้ยงด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน เพิ่มเป็นร้อยละ 60 แม่และครอบครัวมีความเข้มแข็ง และส่งผลให้คุณภาพชีวิตเด็ก 0- 5 ปีดีขึ้น
  2. ชุมชนมีระบบการดูแล เฝ้าระวัง อนามัยแม่และเด็กที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวต้นแบบ ที่เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พัฒนาศักยภาพเครื่อข่าย

วันที่ 22 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาศักยภาพเครื่อข่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีระบบการดูแล เฝ้าระวัง อนามัยแม่ละเด็กที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เกิดตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวต้นแบบ ที่เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

 

6 0

2. กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 6 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการสร้างแผนที่ทางเดินยุทศาสตร์ตำบลนมแม่ ประชุมแลเปลี่ยนเรียนรู้ อบรมให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อัตราการเลี้ยงด้วยยยยยยมแม่อย่างเดียว 6 เดือน เพิ่มเป็นร้อยละ 60 ม่และครอบครัวมีความเข้มแข็ง และส่งผลให้คุณภาพชีวิตเด็ก 0-5 ปีดีขึ้

 

108 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาเครือข่ายสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อขับเคลื่อน ตำบลต้นแบบ “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว”
ตัวชี้วัด :

 

3 สร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการสู่ครัวเรือนชุมชน
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพอนามัยแม่และเด็กของชุมชนโดยชุมชน
ตัวชี้วัด :

 

5 พัฒนาองค์ความรู้และระบบบริการอนามัยแม่และเด็กที่ได้มาตรฐานในพื้นที่ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในประชาชนและบุคลากรทุกระดับ
ตัวชี้วัด :

 

6 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน แม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
ตัวชี้วัด :

 

7 สร้างและสนับสนุน อสม.เชี่ยวชาญนมแม่ในการปรับทัศนคติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาเครือข่ายสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (2) เพื่อขับเคลื่อน ตำบลต้นแบบ “ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว” (3) สร้างเครือข่ายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากสถานบริการสู่ครัวเรือนชุมชน (4) เพื่อส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพอนามัยแม่และเด็กของชุมชนโดยชุมชน (5) พัฒนาองค์ความรู้และระบบบริการอนามัยแม่และเด็กที่ได้มาตรฐานในพื้นที่ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในประชาชนและบุคลากรทุกระดับ (6) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน แม่และครอบครัวตัวอย่างในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และปราชญ์นมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว (7) สร้างและสนับสนุน อสม.เชี่ยวชาญนมแม่ในการปรับทัศนคติการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย (2) พัฒนาศักยภาเครื่อข่าย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5188-1-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรสา ชูศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด