กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางดี
รหัสโครงการ 64-L1534-04-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บางดี
วันที่อนุมัติ 26 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 115,730.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสัมพันธ์ เลิศประดับพร
พี่เลี้ยงโครงการ นางสุภารัตน์ ภักดี
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 4 ก.พ. 2564 4 ก.พ. 2564 225.00
2 4 ก.พ. 2564 4 ก.พ. 2564 2,700.00
3 0.00
4 0.00
รวมงบประมาณ 2,925.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (2,925.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (115,730.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)
14.00
2 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)
8.00
3 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)
2.00
4 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระบบท้องถิ่นหรือพื้นที่ของกองทุน อปท. เป็นนวัตกรรมที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและภาคีภาคส่วนต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ทั่วถึงมากขึ้น รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถ ดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและสร้างกลไกในสังคม ที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วงจากการดำเนินงานของกองทุนที่ผ่านมา พบว่ายังมีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพกองทุนและคณะกรรมการกองทุน โดยเฉพาะในเรื่องการบริหารจัดการกองทุนฯ ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบางดี จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนบางดี เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือจัดการกองทุนฯ ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตามกิจกรรมที่ สปสช.กำหนดในข้อ 10 (4)

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

14.00 21.00
2 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)

8.00 12.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา

ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น

50.00 80.00
4 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

2.00 4.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 200 115,730.00 0 0.00
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 1.ค่าตอบแทนการเข้าประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และที่ปรึกษากองทุนฯ 21 33,600.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 2.ค่าตอบแทนการประชุมของคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนฯ 9 10,800.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 3.ค่าตอบแทนการประชุมของคณะอนุกรรมการกองทุน LTC 10 12,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 4,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 5.ค่าเดินทางไปราชการ ของคณะกรรมการกองทุน/คณะอนุกรรมการกองทุนฯ และคณะอนุกรรมการ LTC 40 40,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 6.ค่าจัดประชุม/อบรมเชิงปฎิบัติการ สอนการเขียนโครงการและสรุปผล และที่เกี่ยวกับงานบริหารพัฒนากองทุนฯ 40 10,000.00 -
1 ต.ค. 63 - 30 ก.ย. 64 7.ค่าวัสดุ เอกสาร สำนักงาน ที่จำเป็นอื่นๆ 40 5,330.00 -

1.ขั้นตอนวางแผนงาน
  1.1 ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม คณะกรรมการฯ/คณะอนุกรรมการฯ/คณะอนุกรรมการ LTC   1.2 กำหนดการประชุมตลอดปีงบประมาณ 2.ขั้นตอนการดำเนินงาน   2.1 ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการเพื่อกำหนดนัดหมาย   2.2 จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน   2.3 จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนคณะกรรมการฯ   2.4 จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 3.ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด   3.1 จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนและที่ปรึกษา (ถ้ามี) 4 ครั้ง/ปี   3.2 จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ 4 ครั้ง/ปี   3.3 จัดประชุมคณะอนุกรรมการ LTC 4 ครั้ง/ปี   3.4 สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการฯ/คณะอนุกรรมการ LTC   3.5 เชิญพี่เลี้ยงที่ได้รับการแต่งตั้งจาก สปสช. เขต 12 มาให้ความรู้เกี่ยวกับงานกองทุนฯและนิเทศติดตามผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ผ่านการพิจารณาอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ 2.การรับ-จ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์สินในกองทุนฯเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด 3.การบริหารกองทุนฯมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2564 16:09 น.