กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
27.29 20.00

 

 

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
5.88 5.00

 

 

 

3 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้รับการติดตาม
53.33 80.00

 

 

 

4 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจน้ำตาลซ้ำ (ติดตาม)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยได้รับการตรวจซ้ำ
90.00 95.00

 

 

 

5 เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง ร้อยละ 5 จากปีก่อน
50.00 40.00

 

 

 

6 เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลงร้อยละ 10 จากปีก่อน
60.00 50.00

 

 

 

7 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี
20.00 25.00

 

 

 

8 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
40.00 50.00

 

 

 

9 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมความดันโลหิตได้ดี
56.72 60.00