กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ STOP TEEN MOM โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564
รหัสโครงการ 64-L3044-1-13
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา
วันที่อนุมัติ 23 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 พฤษภาคม 2564 - 31 มีนาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนัสรียา สะอุ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตันหยงจึงงา อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็ก เยาวชนหญิงมีอายุต่ำกว่า 19 ปี ที่ตั้งครรภ์
4.80

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงการดำรงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยายกลายเป็นครอบครัวเดี่ยว อีกทั้งสภาพทางเศรษฐกิจเปลี่ยนไป ทำให้พ่อแม่ต้องประกอบอาชีพนอกบ้าน
ส่งผลให้ครอบครัวขาดการอบอุ่น เยาวชนขาดการดูแลและชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสม ประกอบกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัตน์และวัฒนธรรมข้ามชาติ ทำให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า
เช่น เช่นสื่อลามกในอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้จึงทำให้เยาวชน เกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม ขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นและสตรีวัยเจริญพันธุ์ในประเทศไทย นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เป็นสิ่งที่นำไปสู่ปัญหาของแม่วัยรุ่นและบุตรที่เกิดมา เช่นมารดาและบุตรมีสุขภาพไม่แข็งแรง น้ำหนักน้อย บางรายหาทางออกโดยการทำแท้ง บางรายเกิดความอับอาย จนต้องออกจากโรงเรียน ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของแม่วัยรุ่นในอนาคต อำเภอยะหริ่ง พบปัญหาการตั้งครรภ์และคลอดในแม่วัยรุ่น
ตั้งแต่ ปี 2561-2563 จำนวน 121 และ 123 ,125 ราย ตามลำดับ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น และข้อมูลประชากรวัยรุ่นหญิงของตำบลตันหยงจึงงา คลอดตั้งแต่ปี 2561-2561 มีจำนวนทั้งหมด 2,4 และ 6 ราย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตันหยงจึงงา ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลบาโลยจึงได้ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อปัญหานี้จึงจัดทำโครงการ STOP TEEN MOM ตำบลตันหยงจึงงาขึ้น เพื่อป้องกัน และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นในปีงบประมาณ พ.ศ.2564

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้วัยรุ่นและแม่วัยรุ่นได้มีความรู้ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และรู้จักหน้าที่รับผิดชอบ

ร้อยละของวัยรุ่นและแม่วันรุ่นมีความรู้เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร

55.00 100.00
2 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น(ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนอายุ 20 ปี)

ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี

4.80 0.00
3 เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาอนามัยเจริญพันธ์ในกลุ่มเพื่อนวัยรุ่นในชุมชน

มีเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาอนามัยเจริญพันธ์ในกลุ่มวัยรุ่น

22.00 55.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
23 มี.ค. 64 - 1 พ.ค. 64 ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ 50 6,500.00 6,500.00
1 เม.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 ประชาสัมพันธ์การจัดตั้งคลินิควัยรุ่น 0 8,500.00 8,500.00
1 พ.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 ติดตามและสรุปผลการดำเนินงาน 0 0.00 0.00
รวม 50 15,000.00 3 15,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. วัยรุ่นและแม่วัยรุ่น มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม
  2. แม่วัยรุ่น มีความรู้เรื่องการดูแลตนเองขณะตั้งครรภ์ การป้องกันการตั้งครรภ์และเลือกที่จะตั้งครรภ์เมื่อพร้อม
  3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ท้องถิ่น ชุมชน บ้าน และกลุ่มเพื่อนวัยรุ่น มีการตื่นตัวต่อปัญหาและเป็นเครือข่าย
  4. เฝ้าระวังพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของเด็กวัยรุ่น
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2564 00:00 น.