กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ติดตามและสรุปผลการดำเนินงาน1 พฤษภาคม 2564
1
พฤษภาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รพสต.ตันหยงจึงงา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.สรุปผลการดำเนินโครงการ 2.กำกับ ติดตามการดำเนินงานตามโครงการ ฯ โดยประสานงานกับเครือข่าย/ อสม.ในเขต เพื่อการเฝ้าระวัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ไม่มีรายงานมารดาอายุน้อยกว่า 20 ปี
ประชาสัมพันธ์การจัดตั้งคลินิควัยรุ่น1 เมษายน 2564
1
เมษายน 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รพสต.ตันหยงจึงงา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประชาสัมพันธ์การจัดตั้งคลินิกวัยรุ่นทั้ง 2 หมู่บ้านและเวทีต่างๆ 2.ติดตั้งป้ายคลีนิคให้บริการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ร้อยละของมารดาที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปีตั้งครรภ์ซ้ำ เท่ากับ 0.00
  2. ร้อยละของการฝากคครภ์ก่อน 12 สัปดาห์เพิ่มขึ้น จาก ร้อยละ 95  เป็นร้อยละ 100
ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ23 มีนาคม 2564
23
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย รพสต.ตันหยงจึงงา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นที่ 1 การเตรียมการ
๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินโครงการ ๒. จัดทำคู่มือและเอกสารในการอบรม
๓. กำหนด รูปแบบการดำเนินการ  สื่อ, อุปกรณ์, ที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินการ, ความรู้และทักษะที่จำเป็น ๔. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานกับเครือข่ายกองทุนตำบล  เพื่อขอความเห็นชอบในการจัดทำและการดำเนินโครงการ ๕. สำรวจกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่นและแม่วัยรุ่นในชุมชน ขั้นที่ 2 การดำเนินกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ(กลุ่มวัยรุ่น) ดังนี้         1.1 เรื่องเพศศึกษา         1.2 เรื่องปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรที่ขาดการป้องกัน   1.3  การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น กิจกรรมที่ 2  จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ(กลุ่มแม่วัยรุ่น) ดังนี้ 1.1 การดูแลภาวะสุขภาพขณะตั้งครรภ์ เพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์         1.2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่มารดาตั้งครรภ์ ครอบคลุมกิจกรรมทั้ง4ด้าน
              1.2.1อาหารที่เหมาะสมตามวัย สาธิตการจัดเมนูอาหาร
              1.2.2.การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน               1.2.3.การส่งเสริมพัฒนาการเด็กในแต่ละช่วงวัย
              1.2.4.การดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก       1.3  การวางแผนครอบครัว กิจกรรมที่ 3  ประชาสัมพันธ์การจัดตั้งคลินิกวัยรุ่นทั้ง 2 หมู่บ้าน ขั้นที่ 3 สรุปผล
1.สรุปผลการดำเนินโครงการ 2.กำกับ ติดตามการดำเนินงานตามโครงการ ฯ โดยประสานงานกับเครือข่าย/ อสม.ในเขต เพื่อการเฝ้าระวัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเพศศึกษาและการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเพิ่มขึ้น 2.ร้อยละของกรตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาที่มีอายุน้อยหว่า 20 ปี เท่ากับ 0.00 3.มีเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาอนามัยเจริญพันธุ์ในกลุ่มเพื่อนวันรุ่นในชุมชน จำนวน 55 คน