กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด


“ โครงการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 5 ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสังวาลย์ เกิ้อก่อยอด

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 5 ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64 – L2985 – 02 - 22 เลขที่ข้อตกลง 22/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 พฤศจิกายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 5 ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 5 ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 5 ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกรูด อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64 – L2985 – 02 - 22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 พฤศจิกายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกรูด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เร่งด่วนของประชาชนที่ต้องได้รับการแก้ไข นอกจากโรคติดต่อแล้ว กลุ่มโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคไขมันในเลือดสูง และโรคมะเร็ง เป็นต้น ก็เป็นสาเหตุสำคัญของการตายและความพิการ ทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลงและก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรเป็นจำนวนมากในแต่ละปี
      การค้นหาและการตรวจคัดกรองสุขภาพของประชาชน มีเป้าหมายสำคัญ คือ สร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายสุขภาพในระยะยาว เป็นภารกิจในการดำเนินงานสร้างหลักสุขภาพถ้วนหน้า ที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี สามารถพึ่งพาตนเองทางด้านสุขภาพมากขึ้น โดยเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ ซึ่งถือว่าสุขภาพนั้นเป็นเรื่องของประชาชนทุกคน กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ได้แก่ กลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่ อาทิ เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการทำงาน การสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ขาดการออกกำลังกายรวมถึงภาวะความเครียด หากได้มีการตรวจค้นหาผู้ป่วยในระยะเริ่มต้น เพื่อให้ผู้ป่วยรู้จักวิธีการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จะช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคอื่นๆ ที่จะตามมาได้เป็นอย่างมาก
      จากการสำรวจและคาดประมาณจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในหมู่ที่ 5 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี พบว่า ประชาชนยังขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองและการป้องกันโรค อสม.จึงมีบทบาทสำคัญในกระบวนการส่งเสริมสุขภาพ โดยเน้นกิจกรรมในส่วนของงานบริการเชิงรุกในการส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ รวมถึงการเฝ้าระวังโรคติดต่อและไม่ติดต่อในชุมชน
      อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านป่ากัน ตำบลมะกรูดได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 5 ขึ้น เพื่อคัดกรองค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมทั้งส่งต่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ และ คณะอนุกรรมการกองทุนฯ
  2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
  3. เพื่อส่งเสริมบทบาทของ อสม.และแกนนำ ในการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ, ประชุม อสม. และแกนนำ เพื่อวางแผนการตรวจคัดกรอง
  2. กิจกรรมตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองและสามารถรู้ว่าตัวเองอยู่ในกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มป่วย       - ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ และลดภาวะโรคแทรกซ้อนต่างๆ       - สามารถส่งต่อผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงเข้ารับการรักษาต่อไป       - ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบมีสุขภาพดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ, ประชุม อสม. และแกนนำ เพื่อวางแผนการตรวจคัดกรอง

วันที่ 8 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ, ประชุม อสม. และแกนนำ เพื่อวางแผนการตรวจคัดกรอง 1.1 ฟื้นฟูความรู้, ประชุม อสม. และแกนนำ เพื่อวางแผนการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานในพื้นที่เขตรับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จัดประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อฟื้นฟูความรู้ในการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และวางแผนการตรวจคัดกรองผู้ที่มีภาวะเสี่ยงในเขตพื้นที่รับผิดชอบ วันที่ 8 ตุลาคม  2564 จำนวน 20 คน

 

20 0

2. กิจกรรมตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีในพื้นที่

วันที่ 8 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีในพื้นที่ 1.1 จัดหาเครื่องมือสำหรับตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวาน 1.2 อสม. และแกนนำ ลงพื้นที่ดำเนินการตรวจคัดกรองผู้มีภาวะเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน กลุ่มประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ลงพื้นที่เชิงรุกในการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 3 ครั้ง ได้แก่ วันที่ 15 ตุลาคม,  16 ตุลาคม  และ 20 ตุลาคม  2564
    จากการดำเนินงาน พบว่า  กลุ่มเป้าหมายมีการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น  อัตราการเกิดโรคเรื้องรังลดน้อยลง ส่วนในกรณีที่ตรวจคัดกรองแล้ว  กลุ่มเสี่ยงที่มีความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลเกินกว่าเกณฑ์มาตรฐาน  จะทำการประสานและแจ้งไปยังทางเจ้าหน้าที่  PCU มะกรูด เพื่อเข้าสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อไป

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • จัดประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อฟื้นฟูความรู้ในการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และวางแผนการตรวจคัดกรองผู้ที่มีภาวะเสี่ยงในเขตพื้นที่รับผิดชอบ วันที่ 8 ตุลาคม 2564
  • ลงพื้นที่เชิงรุกในการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 3 ครั้ง ได้แก่ วันที่ 15 ตุลาคม, 16 ตุลาคม และ 20 ตุลาคม 2564
    จากการดำเนินงาน พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น อัตราการเกิดโรคเรื้องรังลดน้อยลง ส่วนในกรณีที่ตรวจคัดกรองแล้ว กลุ่มเสี่ยงที่มีความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลเกินกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จะทำการประสานและแจ้งไปยังทางเจ้าหน้าที่ PCU มะกรูด เพื่อเข้าสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ และ คณะอนุกรรมการกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจ คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 70
70.00 54.20

 

2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : ผู้ที่มีภาวะเสี่ยง/ผู้ป่วยรายใหม่ ได้รับการส่งต่ออย่างเป็นระบบ ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

3 เพื่อส่งเสริมบทบาทของ อสม.และแกนนำ ในการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก
ตัวชี้วัด : อสม. และแกนนำ ร่วมดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก ร้อยละ 80
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 189
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0 189
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ และ คณะอนุกรรมการกองทุนฯ (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และส่งต่ออย่างเป็นระบบ (3) เพื่อส่งเสริมบทบาทของ อสม.และแกนนำ ในการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ, ประชุม อสม. และแกนนำ  เพื่อวางแผนการตรวจคัดกรอง (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 5 ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64 – L2985 – 02 - 22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสังวาลย์ เกิ้อก่อยอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด