กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน


“ ส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายเวียง รักษ์บรรจง

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L8281-3-14 เลขที่ข้อตกลง 12/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L8281-3-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจุฬาภรณ์พัฒนา ๑๒ มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัยรวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุจึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรืออาจมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแลเกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุดและปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพอื่นๆ ได้แก่ การออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ รวมทั้งในผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ มีความเศร้าใจ กังวลใจ น้อยใจ เสียใจ อันเกิดจากการอยู่ร่วมกันในสังคมของผู้สูงอายุ บุตรหลานมักปล่อยให้อยู่โดดเดี่ยว ขาดการยอมรับและความเชื่อถือด้านการพัฒนาสังคม จากสภาพปัญหาดังกล่าว ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายหรือสุขภาพจิตใจของผู้สูงอายุเป็นอย่างมาก อีกทั้งเป็นการเพิ่มภาระการดูแลสุขภาพแก่ครอบครัว ชุมชน รวมทั้งภาครัฐเองต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของประชากรกลุ่มวัยนี้เพิ่มขึ้น สิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุขผู้สูงอายุจึงควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดี ป้องกันการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคม และมีความสุขในบั้นปลายของชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ได้มีความรู้เบื้องต้นในการดูแลตนเองได้
  2. ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ตามดัชนีบาร์เธลเอดีเอล
  3. ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพตาม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ
  2. ประชุมให้ความรู้การประเมินเอดีแอลโดยตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ ๑
  3. ประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ ๒
  4. ประชุมให้ความรู้การออกกำลังกายในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ ๓

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ดัชนีบาร์เธลเอดีเอล ๒. ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้และมีส่วนร่วมในชุมชนของกลุ่มผู้สูงอายุ ลดภาวการณ์เกิดซึมเศร้า ติดบ้าน ติดเตียง ๓. ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มดูแลสุขภาพตนเอง และครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ

วันที่ 24 มีนาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมให้ความรู้ในผู้สูงอายุเรื่องการดูแลตนเองในผู้สูงอายุ ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท X 70 คน x 1 วัน เป็นเงิน 3,500 บาท
ค่าอาหารว่าง 25บาท x 2มื้อ x 70คน x 1วัน เป็นเงิน 3,500 บาท ค่าวิทยากร 300x6 ชม. เป็นเงิน 1,800 บาท ค่าไวนิล 1 ผืน 720บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ 1. ค่ากระดาษ A4 145 บาทx10รีม เป็นเงิน 1,450 บาท 2.ค่ากระดาษปกแข็ง 150บาท x 2 รีม เป็นเงิน 300 บาท 3.ค่าปากกาน้ำเงิน ๗๐ ด้าม x 10 บาท เป็นเงิน 700 บาท 4.ค่าปากกาเคมี 10 แท่งx30บาท เป็นเงิน 30 บาท 5.เครื่องวัดความดันโลหิต 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,500 บาท 6.เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย เป็นเงิน 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ

 

0 0

2. ประชุมให้ความรู้การประเมินเอดีแอลโดยตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ ๑

วันที่ 20 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ค่าอาหาร 25บาทx1มื้อx70คน เป็นเงิน 1,750 บาท ค่าวิทยากร 300x1 ชม. เป็นเงิน 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้การประเมินเอดีแอลโดยตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

0 0

3. ประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ ๒

วันที่ 18 พฤษภาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ค่าอาหาร 25บาทx1มื้อx70คน เป็นเงิน 1,750 บาท ค่าวิทยากร 300x1 ชม. เป็นเงิน 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

0 0

4. ประชุมให้ความรู้การออกกำลังกายในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ ๓

วันที่ 22 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ค่าอาหาร 25บาทx1มื้อx70คน เป็นเงิน 1,750 บาท ค่าวิทยากร 300x1 ชม. เป็นเงิน 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้การออกกำลังกายในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จุฬาภรณ์พัฒนา ๑๒ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ประจำปีงบประมาณ ๒๕6๔ กลุ่มเป้าหมายคือกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน ๗๐ คน ได้เข้ารับการประชุมเป็น ๔ ครั้ง ประชุมเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ คิดเป็นร้อยละ ๘๐ ประชุมให้ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่๑ คิดเป็นร้อยละ ๘๐ ประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ 2 คิดเป็นร้อยละ ๘๐ ประชุมให้ความรู้การออกกำลังกายในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ ๓ คิดเป็นร้อยละ ๘๐

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ได้มีความรู้เบื้องต้นในการดูแลตนเองได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มผู้สูงอายุมีองค์ความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตนเองได้
70.00 75.00

 

2 ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ตามดัชนีบาร์เธลเอดีเอล
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ได้รับการประเมินความสามารถในการดำเนิชีวิตประจำวัน ตามดัชนีบาร์เธลเอดีเอล
70.00 75.00

 

3 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพตาม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพ ประจำเดือน
70.00 75.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ได้มีความรู้เบื้องต้นในการดูแลตนเองได้ (2) ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน ตามดัชนีบาร์เธลเอดีเอล (3) ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพตาม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเพิ่มความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองในผู้สูงอายุ (2) ประชุมให้ความรู้การประเมินเอดีแอลโดยตนเอง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ ๑ (3) ประชุมให้ความรู้เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ ๒ (4) ประชุมให้ความรู้การออกกำลังกายในผู้สูงอายุและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตรวจสุขภาพ ครั้งที่ ๓

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L8281-3-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเวียง รักษ์บรรจง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด