กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง


“ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่ง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L8409-01-06 เลขที่ข้อตกลง 13/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L8409-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,450.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมาของการพัฒนาประเทศไทย การดำเนินชีวิตของคนในสังคมได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งการดำเนินชีวิตประจำวัน สภาพการแข่งขันและสภาวะบีบคั้นทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ในครอบครัว ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรม จารีตและประเพณีที่ปรับเปลี่ยนไป สภาวะความทันสมัย ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี การติดต่อสื่อสารที่ครอบงำทุกคนให้เน้นวัตถุนิยม พ่อแม่หลายคนละทิ้งบุตรหลานไว้กับคนแก่เพื่อไปทำงาน สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญต่อวิถีชีวิตของคนในสังคมไทยที่เปลี่ยนแปลงไป การเรียนรู้ของวัยรุ่นในยุคปัจจุบันจึงเป็นเพียงการลอกเลียนแบบพฤติกรรมผ่านเทคโนโลยีสื่อสารรูปแบบต่างๆ เช่น เฟสบุ๊ค โดยขาดการวิเคราะห์ พิจารณา ที่เท่าทันและเหมาะสม ซึ่งส่วนหนึ่งผู้ดูแลที่เป็นคนเฒ่าคนแก่ก็ไม่เท่าทันต่อความสมัยใหม่ เพราะเติบโตในวัฒนธรรมการสอนที่แตกต่างกัน ส่งผลให้พฤติกรรมทางเพศในกลุ่มวัยรุ่นวัยเรียน จำนวนมากยังไม่มีความรู้ความเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างเพศ (gender) ที่เหมาะสมและขาดทักษะการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง โดยวัยรุ่นไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง การขาดความเข้าใจเรื่องการคุมกำเนิดที่ถูกวิธีและปลอดภัย ไม่สามารถควบคุมอารมณ์ความรู้สึกของตนเองเมื่อต้องอยู่กับเพศตรงข้ามตามลำพัง ส่งผลให้มีเพศสัมพันธ์ไม่พร้อมและขาดการป้องกัน เด็กผู้หญิงหลายคนถูกล่อลวงไปข่มขืนและอนาจารทางเพศ เงื่อนไขดังกล่าวนำไปสู่การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในกลุ่มวัยรุ่นวัยเรียนนับเป็นปัญหาที่ทวีความรุนแรงและส่งผลต่อสังคมไทยมากขึ้นเรื่อยๆ จากข้อมูลสถิติของ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ในปี 2555 พบว่าอัตราการตั้งครรภ์ในแม่ที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี มีมากถึง 133,027 คน คิดเป็นร้อยละ 16.59 ที่สำคัญอายุต่ำกว่า 15 ปี มีจำนวน 3,707 คน หรือร้อยละ 0.46 ซึ่งมากกว่าเกณฑ์มาตรฐานขององค์การอนามัยโลกกำหนดไว้ที่จะต้องไม่เกินร้อยละ10 ที่สำคัญยังส่งผลกระทบต่อปัญหาอัตราทารกแรกเกิดมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 2,500 กรัม (2.5 กิโลกรัม)ที่พบมากถึงร้อยละ 8.7 ซึ่งมากกว่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลกกำหนดไว้จะต้องไม่เกินร้อยละ 7
      ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่ง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น เพื่อให้วัยรุ่นมีความเข้าใจในเรื่องเพศศึกษา และสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมได้เหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิต ทักษะในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ๒. แกนนำชุมชน อสม. กลุ่มวัยรุ่นและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษา การคุมกำเนิดที่เหมาะสม การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ถูกต้อง ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในกลุ่มวัยรุ่นตำบลฉลุง เขตรพ.สต.บ้านทุ่ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิต เข้าถึงเครื่องมือในการป้องกันตัวเอง ป้องกันท้องไม่พร้อมให้ปลอดภัยในเรื่องเพศผู้ปกครองเข้าใจสถานการณ์ปัญหา และให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาวัยรุ่นท้องไม่พร้อมในพื้นที่ มีเครือข่ายการทำงาน เรื่องอนามัยเจริญพันธ์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การป้องกันท้องไม่พร้อมในระดับแกนนำในชุมชน วัยรุ่น ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา แหล่งเสี่ยง และเสนอแนะแนวทางในการป้องกันแก้ไขปัญหาท้องไม่พร้อมอย่างมีส่วนร่วม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิต ทักษะในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ๒. แกนนำชุมชน อสม. กลุ่มวัยรุ่นและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษา การคุมกำเนิดที่เหมาะสม การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ถูกต้อง ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในกลุ่มวัยรุ่นตำบลฉลุง เขตรพ.สต.บ้านทุ่ง
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. แกนนำชุมชน อสม. กลุ่มวัยรุ่นและผู้ปกครอง เข้าใจสถานการณ์ปัญหา และให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรม เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น ร้อยละ 70 2. แกนนำชุมชน อสม. กลุ่มวัยรุ่นและผู้ปกครอง มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษา การคุมกำเนิดที่เหมาะสม การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ถูกต้อง ร้อยละ 80 3. แกนนำชุมชน อสม. กลุ่มวัยรุ่นและผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา แหล่งเสี่ยง และเสนอแนะแนวทางในการป้องกันแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นไม่เกินร้อยละ ๑๐
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
    กลุ่มวัยทำงาน 60
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่นมีทักษะชีวิต ทักษะในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ  และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม  ๒. แกนนำชุมชน อสม. กลุ่มวัยรุ่นและผู้ปกครอง  มีความรู้ความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษา  การคุมกำเนิดที่เหมาะสม การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ถูกต้อง ๓. ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในกลุ่มวัยรุ่นตำบลฉลุง เขตรพ.สต.บ้านทุ่ง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น รพ.สต.บ้านทุ่ง ต.ฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 64-L8409-01-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด