กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการวิทยาลัยผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะแบบองค์รวม ประจำปี 2564 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประพันธ์ สังข์ติ้น

ชื่อโครงการ โครงการวิทยาลัยผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะแบบองค์รวม ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325643001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวิทยาลัยผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะแบบองค์รวม ประจำปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวิทยาลัยผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะแบบองค์รวม ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวิทยาลัยผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะแบบองค์รวม ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L336325643001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 85,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมไทยกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านประชากร เนื่องจากโครงสร้างประชากรของไทยมีแนวโน้มก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging society) เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. 2543 ประเทศไทยมีสัดส่วนผู้สูงอายุร้อยละ 9.38 หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2553 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 11.89 และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 17.51 ในปี พ.ศ. 2563 (สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข 2555) ทำให้ประเทศต้องมีรายจ่ายด้านสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น ครอบครัว ต้องรับภาระในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น ขณะที่ผู้สูงอายุเองเมื่อมีอายุยืนยาวขึ้นก็ยิ่งต้องเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนรายได้หรือมีรายได้ไม่เพียงพอแก่การดำรงชีพ รวมถึงความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ ความพิการหรือทุพพลภาพที่เพิ่มขึ้นตามอายุและก่อให้เกิดการพึ่งพาบุคคลอื่นมากขึ้น     จากการสำรวจปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุในตำบลบ้านนา พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังมุ่งเน้นการประกอบอาชีพเพื่อสรา้งรายได้ในการดำรงชีพ ส่วนใหญ่จึงละเลยไม่สนใจการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน ทำให้มีปัจจัยความเสี่ยงเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ ส่งผลกระทบมีจำนวนผู้พิการหรือทุพพลภาพในผู้สูงอายุและภาวะต้องพึ่งพาบุคคลอื่นเพิ่มมากขึ้นทุกปี เทศบาลตำบลบ้านนาและศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบ้านนา มีความตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมและการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนให้เป็นไปตามบริบทของตำบลบ้านนาที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังประสงค์ประกอบอาชีพเพื่อหารายได้ในการดำรงชีพควบคู่กับการมีสุขภาวะที่ดี จึงร่วมประชุมออกแบบกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้สูงอายุสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน พัฒนาผู้สูงอายุให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม สามารถปรับตัวเท่าทันการเปลี่ยนแปลง เป็นพลังในการพัฒนาสังคมโดย ส่งเสริมการสร้างรายได้และการมีงานทำให้ผู้สูงอายุ ควบคู่กับการเพิ่มพูนความรู้ทักษะทั้งด้านวิชาการและการใช้สื่อการเรียนรู้สมัยใหม่ให้แก่ผู้สูงอายุ การดูแลสุขภาพกายใจ สังคมเพื่อให้สามารถประกอบอาชีพ พัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่องและสามารถช่วยเหลือสังคมชุมชน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการนำความรู้และประสบกาณ์ของผู้สูงอายุที่เป็นคลังสมองของชาติทั้งภาครัฐและเอกชน ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้มีความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น และประเทศ จึงได้จัดทำโครงการวิทยาลัยผู้สูงอายุสร้างเสริมสุขภาวะแบบองค์รวม จำนวน 3 สาขาวิชาขึ้น ประกอบด้วย สาขาวิชากลองยาวเพื่อสุขภาพ การบริบาลคนไข้ และเกษตรอินทรีย์เพื่อต่อยอดการดำเนินงานจากโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลบ้านนาที่ได้ก่อเกิดขึ้นมาตั้งแต่ปี 2560 เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ผู้สูงอายุได้นำความรู้และความสุขอันเป็นผลให้เกิดการสร้างเสริมสุขภาวะแบบองค์รวมที่ดี สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากโรงเรียนหรือวิทยาลัยไปใช้ประโยชน์ในชุมชน โดยการเป็นแกนนำกลุ่มในการให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุวัยเดียวกัน ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองและดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุขและสร้างรายได้ในโอกาสต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการสร้างเสริมสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมพื้นบ้าน
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ความปลอดภัยในการทำเกษตรอินทรีย์และส่งเสริมให้คนในชุมชนหันมาใส่ใจการบริโภคอาหารปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาพ
  3. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาตนเอง การดูแลสุขภาพ คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ
  4. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ
  5. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพแบบองค์รวมของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
  6. เพื่อส่งเสริมการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การเรียนการสอน/อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในหมวดวิชาทักษะชีวิต เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค จำนวน 8 รายวิชา
  2. กิจกรรมที่ 2 การเรียนการสอน/อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจฝึกปฏิบัติและปฏิบัติจริงในหมวดวิชาทักษะวิชาชีพ จำนวน 3 สาขาวิชา
  3. กิจกรรมการเรียนการสอน อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ ฝึกปฏิบัติและปฏิบัติจริงในหมวดวิชาทักาณะวิชาชีพ จำนวน 3 ขาวิชา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีสุขภาวะแบบองค์รวมที่ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  2. เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการสร้างเสริมสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมพื้นบ้าน
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
50.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ความปลอดภัยในการทำเกษตรอินทรีย์และส่งเสริมให้คนในชุมชนหันมาใส่ใจการบริโภคอาหารปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
50.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาตนเอง การดูแลสุขภาพ คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 40
40.00

 

4 เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 50
50.00

 

5 เพื่อเสริมสร้างสุขภาพแบบองค์รวมของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 70
50.00

 

6 เพื่อส่งเสริมการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการสร้างเสริมสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมพื้นบ้าน (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ ความปลอดภัยในการทำเกษตรอินทรีย์และส่งเสริมให้คนในชุมชนหันมาใส่ใจการบริโภคอาหารปลอดสารเคมีเพื่อสุขภาพ (3) เพื่อส่งเสริมการพัฒนาตนเอง การดูแลสุขภาพ คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุ (4) เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ (5) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพแบบองค์รวมของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม (6) เพื่อส่งเสริมการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การเรียนการสอน/อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในหมวดวิชาทักษะชีวิต เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค จำนวน 8 รายวิชา (2) กิจกรรมที่ 2 การเรียนการสอน/อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจฝึกปฏิบัติและปฏิบัติจริงในหมวดวิชาทักษะวิชาชีพ จำนวน 3 สาขาวิชา (3) กิจกรรมการเรียนการสอน อบรมให้ความรู้ความเข้าใจ ฝึกปฏิบัติและปฏิบัติจริงในหมวดวิชาทักาณะวิชาชีพ จำนวน 3 ขาวิชา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวิทยาลัยผู้สูงอายุเพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะแบบองค์รวม ประจำปี 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325643001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประพันธ์ สังข์ติ้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด