กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา


“ โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ”

ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีซัน อาแว

ชื่อโครงการ โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ที่อยู่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3067-01-010 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3067-01-010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลก ทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม โดยประเทศไทย มีอัตราการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อต่ำสุดเมื่อเทียบในกลุ่มประเทศภูมิภาคเอเชียใต้-ตะวันออก (SEARO) จากข้อมูลปี พ.ศ.2559 โรคไม่ติดต่อยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประชาชนไทยทั้งในแง่ภาระโรคและอัตราการเสียชีวิตอัตราการเสียชีวิต ก่อนวัยอันควร (30-69 ปี) จากโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ประกอบด้วย โรคหลอดเลือดสมอง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคเบาหวาน, ภาวะความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปีพ.ศ. 2557 ถึงปีพ.ศ. 2559 หลังจากนั้น มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยและคงที่ในปี พ.ศ. 2561 โดยโรคหลอดเลือดสมองมีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรสูงที่สุดเท่ากับ 44.3 รายต่อประชากรแสนคน และอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรด้วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ชายสูงกว่าเพศหญิงจากการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา ตั้งแต่ปี พ.ศ.2562 ถึงปีพ.ศ. 2563 โดยการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ในปีพ.ศ.2562 คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 469 คน กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 185 คนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 379 คน กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานจำนวน 53 คน และปี พ.ศ.2563 พบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 115 คน กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 124 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 392 คน กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานจำนวน 27 คน สาเหตุเนื่องจากกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานไม่ออกกำลังกายจำนวนร้อยละ70 พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสมจำนวนร้อยละ60 มีภาวะเครียดจำนวนร้อยละ10และกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวยังมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่จำนวนร้อยละ 20 ทำให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขาเห็นความสำคัญในการแก้ไขปัญหาเพื่อลดและป้องกันกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือของชุมชนจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงได้รับความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อพบแพทย์
  3. เพื่อส่งเสริมการเกิดหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้นแบบ NCD

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการแก่เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  2. ดำเนินกิจกรรมการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง 3 อ. 2 ส.
  3. ติดตามกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทำให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้เหมาะสม ส่งผลให้ไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. ชุมชนรับรู้ปัญหาร่วมดำเนินการแก้ไขปัญหา ส่งผลให้เกิดหมู่บ้าน NCD ต้นแบบ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงได้รับความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อพบแพทย์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมการเกิดหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้นแบบ NCD
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูงได้รับความรู้และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) เพื่อให้กลุ่มป่วยได้รับการส่งต่อพบแพทย์ (3) เพื่อส่งเสริมการเกิดหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้นแบบ NCD

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการแก่เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (2) ดำเนินกิจกรรมการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง 3 อ. 2 ส. (3) ติดตามกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ 1 ตำบล 1 หมู่บ้าน NCD ปี 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3067-01-010

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีซัน อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด