กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์ ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์




ชื่อโครงการ โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3321-1-09 เลขที่ข้อตกลง 20/64

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์ " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 64-L3321-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,828.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญและมีนโยบายขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์จากกัญชาทางการแพทย์ โดยเป็นนโยบายเร่งรัดดำเนินการเป็นอันดับแรกๆ และเพิ่มเป็นอีกสาขาที่ 20 ในแผนพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) เนื่องจากกัญชาถูกกำหนดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 มีข้อจำกัดในการนำมาใช้ ต้องศึกษาวิจัย จัดระบบการบริหารจัดการ รวมทั้งแก้ไขข้อกฎหมาย เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง ไม่มีผลเสียต่อสุขภาพผู้ใช้ในปัจจุบันมีการเปิดให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์ และได้ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ(ฉ.ที่7)ปี2562 จัดกัญชาเป็นยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 7 แต่อนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์เพื่อการดูแลรักษาผู้ป่วยและการศึกษาวิจัยได้ ซึ่งโรงพยาบาลหลายแห่งสังกัดกระทรวงสาธารณสุขได้เปิดให้บริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผนปัจจุบันและแผนไทยจังหวัดพัทลุงได้ดำเนินการตามนโยบาย แต่พบว่าประชาชนบางส่วนมีโรคประจำตัวไม่เข้าข่าย ในการขอรับบริการคลินิกกัญชาของโรงพยาบาลของรัฐ สะท้อนให้เห็นว่ามีผู้ป่วยส่วนหนึ่งที่ไม่สามารถเข้าถึงกัญชาทางการแพทย์ ได้ส่งผลให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจใช้กัญชานอกระบบ หรือที่เรียกว่า กัญชาใต้ดิน ซึ่งไม่สามารถทราบได้ว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้มีความปลอดภัยหรือมีความเสี่ยงจากการใช้กัญชาใต้ดินมากน้อยเพียงใด โดยหากทราบข้อมูลดังกล่าว หน่วยงานสาธารณสุขสามารถเข้าไปดูแลความปลอดภัยได้ตรงจุดและสอดคล้องกับบริบทในชุมชน ดังนั้นเพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาลและตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและเมื่อปีงบประมาณ 2563 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแตได้รับการคัดเลือกเป็นพื้นที่ต้นแบบในการเฝ้าระวังการใช้กัญชาทางการแพทย์ และเพื่อพัฒนาเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพปันแตจึงจัดทำโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์ เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์และให้ประชาชนเข้าถึงการรักษาอย่างปลอดภัย พร้อมทั้งได้รับคำแนะนำอย่างถูกต้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยการใช้กัญชาทางการแพทย์ในชุมชน
  2. 1เพิ่มร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก .2 เพื่อให้อาการปวดเข่าลดลง อย่างน้อย 1 ระดับ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม อบรมการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยการใช้กัญชาทางการแพทย์ จำนวน 116 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 116
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยการใช้กัญชาทางการแพทย์สามารถรายงานและให้คำแนะนำได้อย่างถูกต้องเมื่อพบการกัญชาใต้ดิน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ผลการดำเนินงาน เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยการใช้กัญชาทางการแพทย์สามารถรายงานและให้คำแนะนำได้อย่างถูกต้องเมื่อพบการกัญชาใต้ดิน
  2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด  บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
  3. ระยะเวลาดำเนินการ อบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัย จากการใช้กัญชาทางการแพทย์ ใน วันที่ 22 - 23 เดือน กรกฎาคม  พ.ศ. 2564
  4. สถานที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
  5. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 4,828 บาท
        งบประมาณเบิกจ่ายจริง 4,828 บาท  คิดเป็นร้อยละ 100 รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ -.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าอบรมและผู้จัดอบรมจำนวน 120 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท -ค่าถ่ายเอกสารสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม แบบทดสอบการอบรม หน้า – หลัง แผ่นละ 1 บาทจำนวน 124 แผ่น เป็นเงิน 124 บาท -ค่าถ่ายเอกสารสำหรับผู้เข้าร่วมการอบรม เอกสารให้ความรู้ กัญชาทางการแพทย์ หน้า – หลัง แผ่นละ 1 บาทจำนวน 124 แผ่น เป็นเงิน 124 บาท

- กระดาบบรุ๊ฟ (สร้างแบบ) 48 แกรม 31*43 จำนวน 16 แผ่น แผ่นละ 5 บาท เป็นเงิน 80 บาท - ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท รวมเป็นเงิน จำนวน 4,828บาท (สี่พันแปดร้อยยี่สิบแปดบาทถ้วน)
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 4,828 บาท (สี่พันแปดร้อยยี่สิบแปดบาทถ้วน)
6. ผลที่ได้รับ ผู้เข้าอบรมผ่านการทำแบบทดสอบหลังอบรมผ่านร้อยละ 86 7. ปัญหา/อุปสรรค ปัญหาโรคโควิท - 19 ส่งผลให้ การจัดการอบรมไม่เต็มที่
ข้อเสนอแนะเพื่อการแก้ไข เสนอเพิ่มช่องทางการสือสาร และให้ความรู้เพิ่มเติมผ่านไลน์ กรุ๊ป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยการใช้กัญชาทางการแพทย์ในชุมชน
ตัวชี้วัด : เครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยการใช้กัญชาทางการแพทย์สามารถรายงานและให้คำแนะนำได้อย่างถูกต้องเมื่อพบการกัญชาใต้ดิน
0.00

 

2 1เพิ่มร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก .2 เพื่อให้อาการปวดเข่าลดลง อย่างน้อย 1 ระดับ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมผ่านการทำแบบทดสอบหลังอบรมผ่านร้อยละ 80
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 116 116
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 116 116
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยการใช้กัญชาทางการแพทย์ในชุมชน (2) 1เพิ่มร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก .2 เพื่อให้อาการปวดเข่าลดลง อย่างน้อย 1 ระดับ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรมการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยการใช้กัญชาทางการแพทย์ จำนวน 116 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้กัญชาทางการแพทย์ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3321-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด