กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการประชาสัมพันธ์และบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน ”
อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสุรีย์โทบุรี




ชื่อโครงการ โครงการประชาสัมพันธ์และบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน

ที่อยู่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-l7884-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประชาสัมพันธ์และบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประชาสัมพันธ์และบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประชาสัมพันธ์และบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-l7884-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 431,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ขยะมูลฝอย ภายในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ในปัจจุบันมีสถานที่ที่เป็นแหล่งผลิตขยะเช่น ตลาดสด สถานศึกษา สถานที่ราชการ และชุมชนที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาล จำนวน 19 ชุมชนมีปริมาณขยะที่เกิดขึ้น ประมาณ 40 ตัน ต่อวัน การศึกษาองค์ประกอบขยะมูลฝอยพบว่าขยะที่มีปริมาณมากที่สุดคือขยะอินทรีย์ร้อยละ 65 ขยะรีไซเคิล ร้อยละ 21ขยะทั่วไปร้อยละ 12ขยะอันตรายและอื่น ๆ ร้อยละ 2ปัจจุบันการบริหารจัดการขยะของเทศบาล คือ มีการจัดเก็บขยะมูลฝอยในถนนทุกสาย สถานที่ราชการ สถานศึกษา เป็นประจำทุกวันมีการวางถังขยะ จำนวน459ถัง มีจุดทิ้งวัสดุประเภทกิ่งไม้ วัสดุก่อสร้าง จำนวน 27 จุดมีการกำหนดการจัดเก็บขยะประเภทต่าง ๆสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น คือ มีขยะล้นถัง มีการทิ้งขยะไม่เป็นเวลา มีประชาชนจากนอกเขตเทศบาลนำขยะมาทิ้งหลังจากรถจัดเก็บไปแล้ว มีการทิ้งขยะในจุดห้ามทิ้งทิ้งขยะรวมกันทุกประเภท ทิ้งวัสดุต่าง ๆ เช่น กิ่งไม้ เศษวัสดุจากการก่อสร้าง เฟอร์นิเจอร์ชำรุดไม่เป็นที่เป็นทาง และไม่ตรงกับวัน เวลา ที่เทศบาลไปจัดเก็บ สาเหตุเนื่องจาก
1.ประชาชนยังขาดความรู้ความร่วมมือ และความรับผิดชอบต่อการบริหารจัดการขยะ และ มีความเข้าใจว่าการบริหารจัดการขยะต้องเป็นหน้าที่ของเทศบาล ในการดำเนินงาน 2.เทศบาลเมืองปัตตานี ประชาสัมพันธ์ เรื่อง การบริหารจัดการขยะแต่ละประเภทไม่ทั่วถึง เช่นวัน เวลา ที่จัดเก็บกิ่งไม้ เก็บเศษวัสดุ ในจุดต่าง ๆการจัดการขยะอันตราย 3.เทศบาลเมืองปัตตานีขาดอุปกรณ์ ที่สนับสนุน และสร้างแรงจูงใจให้ประชาชน มีการคัดแยกขยะ และดูแลรักษาความสะอาดสถานที่สาธารณะ เช่น ถนนในชุมชน เช่น ประชาชนไม่มีจุดรวบรวมขยะอันตราย อุปกรณ์ในการดูแลรักษาความสะอาดพื้นที่สาธารณะไม่เพียงพอ 4. เทศบาลยังไม่มีการจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ ที่เป็นภาษายาวี หรือภาษาท้องถิ่น ซึ่งมีประชาชนส่วนหนึ่งที่อ่านภาษาไทยไม่ออก
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการจัดการขยะต้นทาง จึงได้พยายามแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยจัดทำแผนการจัดเก็บขยะแต่ละประเภท และดำเนินการตามแผน ส่งเสริมความรู้การจัดการขยะมูลฝอยให้กับประชาชน อำนวยความสะดวกในการให้บริการจัดเก็บขยะประเภทต่าง ๆ แต่เนื่องจากมีความจำกัดในการจัดตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ไม่เพียงพอ จึงได้จัดทำโครงการประชาสัมพันธ์และบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน เพื่อขอรับงบประมาณจากเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อพัฒนางานดังกล่าวให้มีความครอบคลุมเป้าหมายทั้งการสร้างความรับรู้ของประชาชน และประชาสัมพันธ์เต็มพื้นที่ เกิดการมีส่วนร่วม และประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1เพื่อจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยทุกประเภท แสดงวัน เวลาในการจัดเก็บ
  2. 2 เพื่อจัดทำภาชนะรองรับขยะอันตรายชุมชน
  3. 3.เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ สนับสนุนให้ชุมชนดูแลรักษาความสะอาดพื้นที่สาธารณะในชุมชนของตนเอง
  4. 4.จัดซื้อถุงสำหรับคัดแยกขยะ ให้กับชุมชนนำร่องแบบมีเงื่อนไข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45,000
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยกับเทศบาลเมืองปัตตานีมากขึ้น
    2. เทศบาลเมืองปัตตานีมีวัสดุอุปกรณ์ อย่างเพียงพอ ในการสนับสนุนให้ชุมชนดูแลรักษาความสะอาดชุมชน ของตนเอง 3.ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย และ สภาพแวดล้อม จากปัญหาขยะมูลฝอยลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1เพื่อจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยทุกประเภท แสดงวัน เวลาในการจัดเก็บ
    ตัวชี้วัด : จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ติดตามจุดต่าง ๆ ตามเป้าหมายร้อยละ 100 เพื่อให้ประชาชนรับรู้การบริหารจัดการขยะให้ความร่วมมือปฏิบัติตาม

     

    2 2 เพื่อจัดทำภาชนะรองรับขยะอันตรายชุมชน
    ตัวชี้วัด : สถานที่ราชการและชุมชนตามเป้าหมายมีการคัดแยกขยะอันตราย ร้อยละ 80เพื่อเทศบาล จะได้เก็บรวบรวม และนำส่งไปกำจัดอย่างถูกวิธี

     

    3 3.เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ สนับสนุนให้ชุมชนดูแลรักษาความสะอาดพื้นที่สาธารณะในชุมชนของตนเอง
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีอุปกรณ์ในการดูแลรักษาความสะอาดในการดูแลสถานที่สาธารณะในชุมชนของตนเองอย่างเพียงพอร้อยละ 100

     

    4 4.จัดซื้อถุงสำหรับคัดแยกขยะ ให้กับชุมชนนำร่องแบบมีเงื่อนไข
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีแรงจูงใจในการคัดแยกขยะ ประเภทต่างๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าและนำมาใช้ประโยชน์

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45000
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45,000
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับรู้ในการจัดการขยะมูลฝอยทุกประเภท แสดงวัน เวลาในการจัดเก็บ (2) 2 เพื่อจัดทำภาชนะรองรับขยะอันตรายชุมชน (3) 3.เพื่อจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ สนับสนุนให้ชุมชนดูแลรักษาความสะอาดพื้นที่สาธารณะในชุมชนของตนเอง (4) 4.จัดซื้อถุงสำหรับคัดแยกขยะ ให้กับชุมชนนำร่องแบบมีเงื่อนไข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการประชาสัมพันธ์และบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-l7884-2-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุรีย์โทบุรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด