กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ


“ โครงการกำจัดขยะเพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและป้องกันโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอมร นาคปก

ชื่อโครงการ โครงการกำจัดขยะเพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2491-2-17 เลขที่ข้อตกลง 13/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกำจัดขยะเพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกำจัดขยะเพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกำจัดขยะเพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2491-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่มีรุนแรงมากขึ้นทุกวัน ส่วนหนึ่งมาจากขยะมูลฝอย ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของโรงเรียนอันก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน เช่น เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง ฯลฯ ซึ่งได้แพร่กระจายเชื้อโรค ส่งกลิ่นเหม็นก่อให้เกิดความรำคาญและทำลายสุนทรียภาพทางด้านสิ่งแวดล้อม ทำให้เกิดสภาพไม่น่าดู สกปรก น่ารังเกียจ ขยะจะส่งกลิ่นรบกวนเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคและส่งผล กระทบต่อสุขภาพของนักเรียน ตลอดจนครูและบุคลากรในโรงเรียน นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดโรคติดต่อ โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกซึ่งเป็นโรคติดต่อที่กำลังระบาดและแพร่เชื้ออย่างรุนแรงของประเทศ การป้องกันโรคไข้เลือดออกสามารถทำได้โดยการรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในสถานศึกษา ซึ่งจำเป็นต้องกระทำอย่างต่อเนื่องและจริงจังครอบคลุมทุกอาคารเรียน เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดเชื้อโรคไข้เลือดออกและจะต้องดำเนินการอย่างรวดเร็ว โดยมีเป้าหมายคือการร่วมมือกำจัดขยะและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค ดังนั้นทางโรงเรียนควรหาวิธีการที่ให้นักเรียนมองเห็นถึงคุณค่าของขยะและมีส่วนร่วมเพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดี เห็นความสำคัญ ในการประหยัดพลังงาน โดยการนำของเสียกลับมาใช้หม่หรือรีไซเคิล ซึ่งจะทำให้สามารถลดปริมาณขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพสิ่งแวดล้อมได้ ที่สำคัญจะช่วยจรรโลงให้โลกใบนี้มีความสดใสน่าอยู่ไปอีกนาน จากปัญหาดังกล่าว ทำให้เห็นความสำคัญของขยะและการป้องกันไข้เลือดออก โดยมีความเห็นร่วมกันที่จะให้ครูและบุคลากรในโรงเรียน รวมทั้งนักเรียนช่วยกันปรับปรุงสภาพแวดล้อม มีการเก็บและคัดแยกขยะ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องในโรงเรียนและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก การมีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียน และการสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ทางโรงเรียนจึงได้เสนอโครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปลูกจิตสำนึกให้นักเรียนมีคความรู้ความเข้าใจในการจัดเก็บขยะและการคัดแยกขยะได้ถูกวิธี
  2. เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในโรงเรียน
  3. เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคไข้เลือดอก
  4. เพื่อให้บริเวณโรงเรียนมีความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 213
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่น สวยงาม ปลอดจากขยะ และมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้
    2. นักเรียนมีความ รู้และมีจิตสำนึก สามารถแยกประเภทขยะได้
    3. นักเรียนมีความรู้ และมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน
    4. โรงเรียนมีการรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อปลูกจิตสำนึกให้นักเรียนมีคความรู้ความเข้าใจในการจัดเก็บขยะและการคัดแยกขยะได้ถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีจิตสำนึกและความรู้ความเข้าใจในการจัดเก็บขยะและการคัดแยกขยะได้อย่างถูกวิธีร้อยละ80
    0.00

     

    2 เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในโรงเรียน ร้อยละ 80
    0.00

     

    3 เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคไข้เลือดอก
    ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยจากโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 80
    0.00

     

    4 เพื่อให้บริเวณโรงเรียนมีความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม
    ตัวชี้วัด : บริเวณโรงเรียนมีความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม ร้อยละ 80
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 213
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 213
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปลูกจิตสำนึกให้นักเรียนมีคความรู้ความเข้าใจในการจัดเก็บขยะและการคัดแยกขยะได้ถูกวิธี (2) เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงในโรงเรียน (3) เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคไข้เลือดอก (4) เพื่อให้บริเวณโรงเรียนมีความสะอาด ร่มรื่น สวยงาม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการกำจัดขยะเพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 64-L2491-2-17

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอมร นาคปก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด