กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงฯ ”

ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุดารัตน์ ศรีเพ็ชร

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงฯ

ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5211-1-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงฯ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงฯ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงฯ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5211-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากโครงการป้องกันและควบคุมโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร พบว่าผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีการรับรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองอยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ ๕๖.๔  และจากผลการตรวจคัดกรองพบผู้มีภาวะเสียงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๓๖.๕  ประกอบกับข้อมูลการป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในพื้นที่ตำบลบ้านหารมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ และพบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงเกิดภาวะแทรกซ้อนด้วยอัมพฤกษ์ หัวใจและหลอดเลือด ร้อยละ ๓.๙ โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อแต่มีแนวโน้มการเกิดโรคมากขึ้นทุกปีและเป็นโรคเรื้อรังที่ต้องมีค่าใช้จ่ายสูง  โดยเฉพาะผู้ป่วยและผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงยังไม่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์หากไม่มีความรู้และปฏิบัติตัวไม่ถูกต้องจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทำให้ไม่สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติได้รับความทุกข์ทรมานสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเป็นจำนวนมาก เสียชีวิต ประสบปัญหาสุขภาพจิตทั้งผู้ป่วยและญาติได้ จะเห็นได้จากปัจจุบันรัฐได้จัดสรรงบประมาณในการค้นหาผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ถูกต้องตั้งแต่ระยะแรก ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดการสูญเสียลงได้ แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถดำเนินชีวิตที่ถูกต้องตามคำแนะนำได้อย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้จาก มีผู้ป่วยที่ควบคุมความดันโลหิตไม่เกิน ๑๓๐/๙๐ มิลลิเมตรปรอทได้มีเพียง ๔๐ คน ร้อยละ ๕๘.๘ ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้มีเพียง ๑๘ คน ร้อยละ ๕๑.๔ ถึงแม้ว่าโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหารจะให้การดูแลเยี่ยมบ้านทุกราย ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหารจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องสร้างความตระหนักเพื่อให้เห็นความสำคัญของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและสนับสนุนให้เกิดการดำเนินชีวิตที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน เริ่มด้วยรู้จักเลือกบริโภคอาหาร การออกกำลังกายร่วมกับการเจาะเลือดในผู้ที่มีภาวะเสียงเบาหวาน ตรวจความดันโลหิต เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการเกิดโรคอย่างถาวร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหารจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ขึ้น เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรค ๒. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การรับประทานทานยา ที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคหัวใจและหลอดเลือด ลดลง ๒ ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยและสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข ๓ ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยสามารถดูแลตนเองจนสามารถควบคุมระดับน้ำตาลหรือความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรค ๒. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การรับประทานทานยา ที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ๑. กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรค ร้อยละ ๙๐ (ใช้แบบทดสอบความรู้วัดผลความรู้ก่อนและหลังการอบรม) ๒. กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพด้านการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การรับประทานทานยา ที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ ๙๕ (ใช้แบบวัดพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การรับประทานยา)
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรค ๒. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน    มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ด้านการรับประทานอาหาร  การออกกำลังกาย การรับประทานทานยา ที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงฯ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5211-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุดารัตน์ ศรีเพ็ชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด