ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวไลพร จันทรมณี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-16 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคเกิดได้ในทุกอวัยวะของร่างกายส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอดพบร้อยละ๘๐ ส่วนวัณโรคนอกปอดเป็นผลมา
จากการแพร่กระจายของการติดเชื้อไปยังอวัยวะอื่นๆได้แก่เยื่อหุ้มปอด ต่อมน้ำเหลือง กระดูกสันหลัง ข้อต่อ ช่องท้อง
ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธ์ ระบบประสาท เชื้อวัณโรคจะแพร่กระจายจากปอด หลอดลมหรือกล่องเสียงเมื่อ
ผู้ป่วยไอ จม พูดดังๆ ตะโกน หัวเราะหรือร้องเพลง เชื้อเหล่านี้จะอยู่ในละอองฝอยของเสมหะออกมาสู่อากาศซึ่ง
สามารถติดต่อโดยสูดหายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อวัณโรค
วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยโดย พ.ศ.2558 องค์การอนามัยโลกจัดให้ประเทศไทย
เป็น ๑ ใน ๑๔ ประเทศที่มีปัญหาวัณโรครุนแรงระดับโลก ทั้งวัณโรคทั่วไป วัณโรคและเอดส์ วัณโรคดื้อยาหลายขนาน
นอกจากนี้การสำรวจความชุกของวัณโรคพบว่า ผู้ป่วยวัณโรคร้อยละ 60 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อย
ไม่ถึงเกณฑ์สงสัยว่าป่วย ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้จะวินิจฉัยได้ต้องปรับปรุงแนวทางการตรวจคัดกรองอาการให้มีความไวมากขึ้น
หรือใช้การเอ็กซเรย์ปอดเป็นวิธีการคัดกรองหลัก พบวัณโรคในเพศชายมากกว่าเพศหญิงเป็นสองเท่าเนื่องจากปัจจัยเสี่ยง
ของการสูบบุหรี่รวมทั้งผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการป่วยสูง ประเทศไทยมีอัตราป่วยวัณโรครายใหม่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลก1.3
เท่ามีผู้ป่วยที่ตรวจพบและรายงานร้อยละ ๕๙ ของที่คาดประมาณเท่านั้น ซึ่งสะท้อนถึงการที่ผู้ป่วยส่วนหนึ่งเข้าถึงการ
รักษาล่าช้าหรือเข้าไม่ถึง ทำให้แพร่กระจายเชื้อในชุมชนซึ่งแผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ มี
เป้าประสงค์เร่งรัดค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคให้ครอบคลุมโดยการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายร้อยละ๑๐๐ ลดการเสียชีวิต
ในผู้ป่วยวัณโรคคือลดอัตราการตายลร้อยละ50 รวมทั้งพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการป้องกันดูแลรักษาและควบคุม
วัณโรคและสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงานป้องกันดูแลรักษาและควบคุมวัณโรค
จากการสำรวจพื้นที่ในชุมชนที่รับผิดชอบของศูนย์บริการสารรณสุขโพธิพงษา บุญมณี อินทรัศมี(ชุมชน
คลองเตย) พบว่ามีกลุ่มสี่ยงต่อการเกิดโรควัณโรคได้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้สูงอายุที่มีโรคร่วม ผู้สัมผัสผู้ป่วย และมีผู้ป่วย
วัณโรคดื้อยาซึ่งมีโอกาสแพร่เชื้อในชุมชนเพิ่มมากขึ้นจึงได้จัดทำโครงการชุมชนใส่ใจพันภัยวัณโรคประจำปี 2564 เพื่อ
ควบคุมป้องกันการแพระบาดของโรคในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนและส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรักษาพร้อมทั้ง ป้องกันภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคในผู้สัมผัสผู้ป่วย ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและในเด็กอายุต่ำกว่า๕ ปีซึ่งอยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วย วัณโรค ต้องได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันเพื่อให้ได้รับการรักษาวัณโรคระยะแฝงตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
- เพื่อลดอัตราการป่วยลดการแพร่กระจายของโรคและการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรคโดยส่งเสริมผู้ป่วย วัณโรคให้ได้รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอครบถ้วนตามแผนการรักษาของแพทย์
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกคน อสม.และผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคมีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตนในการป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อวัณโรครวมทั้งประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองค้นหาพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงวัณโรค
โรครายใหม่ ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรักษาอย่างมีประสิทธิภาพครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐
๒ ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอครบถ้วนตามแผนการรักษาของแพทย์ลดอัตราการป่วย การ
แพร่กระจายของโรคและเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรค โดยลดอัตราการตายลงร้อยละ 50
๓. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อสม.และผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคทุกราย มีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตนในการป้องกัน
โรคและดูแลผู้ป่วยวัณโรคได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนและส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรักษาพร้อมทั้ง ป้องกันภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคในผู้สัมผัสผู้ป่วย ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและในเด็กอายุต่ำกว่า๕ ปีซึ่งอยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วย วัณโรค ต้องได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันเพื่อให้ได้รับการรักษาวัณโรคระยะแฝงตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
ตัวชี้วัด : ค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคได้ครอบคลุมโดยกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรักษาร้อยละ๑๐๐
0.00
2
เพื่อลดอัตราการป่วยลดการแพร่กระจายของโรคและการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรคโดยส่งเสริมผู้ป่วย วัณโรคให้ได้รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอครบถ้วนตามแผนการรักษาของแพทย์
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอ ครบถ้วนตามแผนการรักษาของแพทย์ลดอัตราการตายของผู้ป่วย วัณโรคในชุมชนได้ร้อยละ 50
0.00
3
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกคน อสม.และผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคมีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตนในการป้องกันโรค
ตัวชี้วัด : อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคและประชาชนกลุ่มเป้าหมายประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตน ในการป้องกันโรคและดูแลผู้ป่วยวัณโรคได้ถูกต้องร้อยละ๘๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนและส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรักษาพร้อมทั้ง ป้องกันภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคในผู้สัมผัสผู้ป่วย ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและในเด็กอายุต่ำกว่า๕ ปีซึ่งอยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วย วัณโรค ต้องได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันเพื่อให้ได้รับการรักษาวัณโรคระยะแฝงตั้งแต่ระยะเริ่มแรก (2) เพื่อลดอัตราการป่วยลดการแพร่กระจายของโรคและการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรคโดยส่งเสริมผู้ป่วย วัณโรคให้ได้รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอครบถ้วนตามแผนการรักษาของแพทย์ (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกคน อสม.และผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคมีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตนในการป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวไลพร จันทรมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางวไลพร จันทรมณี
กันยายน 2564
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-16 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 15 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2564 - 15 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัณโรคเกิดได้ในทุกอวัยวะของร่างกายส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอดพบร้อยละ๘๐ ส่วนวัณโรคนอกปอดเป็นผลมา จากการแพร่กระจายของการติดเชื้อไปยังอวัยวะอื่นๆได้แก่เยื่อหุ้มปอด ต่อมน้ำเหลือง กระดูกสันหลัง ข้อต่อ ช่องท้อง ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธ์ ระบบประสาท เชื้อวัณโรคจะแพร่กระจายจากปอด หลอดลมหรือกล่องเสียงเมื่อ ผู้ป่วยไอ จม พูดดังๆ ตะโกน หัวเราะหรือร้องเพลง เชื้อเหล่านี้จะอยู่ในละอองฝอยของเสมหะออกมาสู่อากาศซึ่ง สามารถติดต่อโดยสูดหายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อวัณโรค วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยโดย พ.ศ.2558 องค์การอนามัยโลกจัดให้ประเทศไทย เป็น ๑ ใน ๑๔ ประเทศที่มีปัญหาวัณโรครุนแรงระดับโลก ทั้งวัณโรคทั่วไป วัณโรคและเอดส์ วัณโรคดื้อยาหลายขนาน นอกจากนี้การสำรวจความชุกของวัณโรคพบว่า ผู้ป่วยวัณโรคร้อยละ 60 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการหรือมีอาการเล็กน้อย ไม่ถึงเกณฑ์สงสัยว่าป่วย ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มนี้จะวินิจฉัยได้ต้องปรับปรุงแนวทางการตรวจคัดกรองอาการให้มีความไวมากขึ้น หรือใช้การเอ็กซเรย์ปอดเป็นวิธีการคัดกรองหลัก พบวัณโรคในเพศชายมากกว่าเพศหญิงเป็นสองเท่าเนื่องจากปัจจัยเสี่ยง ของการสูบบุหรี่รวมทั้งผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการป่วยสูง ประเทศไทยมีอัตราป่วยวัณโรครายใหม่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลก1.3 เท่ามีผู้ป่วยที่ตรวจพบและรายงานร้อยละ ๕๙ ของที่คาดประมาณเท่านั้น ซึ่งสะท้อนถึงการที่ผู้ป่วยส่วนหนึ่งเข้าถึงการ รักษาล่าช้าหรือเข้าไม่ถึง ทำให้แพร่กระจายเชื้อในชุมชนซึ่งแผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ มี เป้าประสงค์เร่งรัดค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคให้ครอบคลุมโดยการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายร้อยละ๑๐๐ ลดการเสียชีวิต ในผู้ป่วยวัณโรคคือลดอัตราการตายลร้อยละ50 รวมทั้งพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อการป้องกันดูแลรักษาและควบคุม วัณโรคและสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงานป้องกันดูแลรักษาและควบคุมวัณโรค จากการสำรวจพื้นที่ในชุมชนที่รับผิดชอบของศูนย์บริการสารรณสุขโพธิพงษา บุญมณี อินทรัศมี(ชุมชน คลองเตย) พบว่ามีกลุ่มสี่ยงต่อการเกิดโรควัณโรคได้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้สูงอายุที่มีโรคร่วม ผู้สัมผัสผู้ป่วย และมีผู้ป่วย วัณโรคดื้อยาซึ่งมีโอกาสแพร่เชื้อในชุมชนเพิ่มมากขึ้นจึงได้จัดทำโครงการชุมชนใส่ใจพันภัยวัณโรคประจำปี 2564 เพื่อ ควบคุมป้องกันการแพระบาดของโรคในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนและส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรักษาพร้อมทั้ง ป้องกันภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคในผู้สัมผัสผู้ป่วย ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและในเด็กอายุต่ำกว่า๕ ปีซึ่งอยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วย วัณโรค ต้องได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันเพื่อให้ได้รับการรักษาวัณโรคระยะแฝงตั้งแต่ระยะเริ่มแรก
- เพื่อลดอัตราการป่วยลดการแพร่กระจายของโรคและการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรคโดยส่งเสริมผู้ป่วย วัณโรคให้ได้รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอครบถ้วนตามแผนการรักษาของแพทย์
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกคน อสม.และผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคมีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตนในการป้องกันโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเสี่ยงและผู้ติดเชื้อวัณโรครวมทั้งประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองค้นหาพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงวัณโรค โรครายใหม่ ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรักษาอย่างมีประสิทธิภาพครอบคลุมร้อยละ ๑๐๐ ๒ ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอครบถ้วนตามแผนการรักษาของแพทย์ลดอัตราการป่วย การ แพร่กระจายของโรคและเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรค โดยลดอัตราการตายลงร้อยละ 50 ๓. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อสม.และผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคทุกราย มีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตนในการป้องกัน โรคและดูแลผู้ป่วยวัณโรคได้ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนและส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรักษาพร้อมทั้ง ป้องกันภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคในผู้สัมผัสผู้ป่วย ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและในเด็กอายุต่ำกว่า๕ ปีซึ่งอยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วย วัณโรค ต้องได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันเพื่อให้ได้รับการรักษาวัณโรคระยะแฝงตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ตัวชี้วัด : ค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรคได้ครอบคลุมโดยกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองผู้ป่วยสงสัยเป็นวัณโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรักษาร้อยละ๑๐๐ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดอัตราการป่วยลดการแพร่กระจายของโรคและการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรคโดยส่งเสริมผู้ป่วย วัณโรคให้ได้รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอครบถ้วนตามแผนการรักษาของแพทย์ ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยวัณโรคทุกรายได้รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอ ครบถ้วนตามแผนการรักษาของแพทย์ลดอัตราการตายของผู้ป่วย วัณโรคในชุมชนได้ร้อยละ 50 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกคน อสม.และผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคมีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตนในการป้องกันโรค ตัวชี้วัด : อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคและประชาชนกลุ่มเป้าหมายประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตน ในการป้องกันโรคและดูแลผู้ป่วยวัณโรคได้ถูกต้องร้อยละ๘๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในชุมชนและส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันและรักษาพร้อมทั้ง ป้องกันภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคในผู้สัมผัสผู้ป่วย ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและในเด็กอายุต่ำกว่า๕ ปีซึ่งอยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วย วัณโรค ต้องได้รับการส่งต่อเพื่อรับการตรวจยืนยันเพื่อให้ได้รับการรักษาวัณโรคระยะแฝงตั้งแต่ระยะเริ่มแรก (2) เพื่อลดอัตราการป่วยลดการแพร่กระจายของโรคและการเสียชีวิตในผู้ป่วยวัณโรคโดยส่งเสริมผู้ป่วย วัณโรคให้ได้รับการรักษาอย่างสม่ำเสมอครบถ้วนตามแผนการรักษาของแพทย์ (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทุกคน อสม.และผู้ดูแลผู้ป่วยวัณโรคมีความรู้ความเข้าใจสามารถปฏิบัติตนในการป้องกันโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ชุมชนใส่ใจพ้นภัยวัณโรค ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 64-L7258-1-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวไลพร จันทรมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......