กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่5 บ้านท่ายาง ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายรอหมาด สอและ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่5 บ้านท่ายาง ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5312-2-03 เลขที่ข้อตกลง 06/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่5 บ้านท่ายาง ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่5 บ้านท่ายาง ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่5 บ้านท่ายาง ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 64-L5312-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชาชนบ้านท่ายางส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ประมง และรับจ้างทั่วไป โดยรวมประชากรทั้งหมด 560 คน แยกเป็นเด็กและผู้สูงอายุ 210 คน วัยคนทำงาน 350 คน แยกเป็นอาชีพประมง 175 คน อาชีพเกษตรกรรม 105 คน รับจ้างทั่วไป 70 คน ประชากรส่วนใหญ่มีโรคประจำตัวได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง-เบาหวานรวม 62 คน โรคหอบหืด 4 คน โรคหัวใจ 4 คน โรคที่ประชาชนเป็นกันมากคือเหน็บชา ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เนื่องจากประชาชนในหมู่บ้านไม่ค่อยตระหนักถึงพฤติกรรมของการมีสุขภาพที่ดี โดยเฉพาะเรื่องของการออกกำลังกาย จึงคิดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายของประชาชน เนื่องจากการออกกำลังกายเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและระบบไหลเวียนโลหิต รวมทั้งสร้างเสริมทักษะทางกีฬา การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะช่วยสร้างเสริมระบบภูมิคุ้มกันและช่วยป้องกันโรคต่างๆ ได้โดยเฉพาะในวัยทำงานและผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นวัยที่ระบบต่าง ๆ ในร่างกายเริ่มมีการเสื่อมสภาพ เนื่องจากร่างกายมีความเปลี่ยนแปลงไปมากบางรายถึงขั้นมีปัญหาทางด้านอารมณ์และจิตใจก่อให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา โดยสามารถป้องกันได้ด้วยการออกกำลังกาย ซึ่งต้องกระทำอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุหรือปัญหาอื่นที่เกี่ยวกับสุขภาพ จึงต้องการให้เกิดการตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกาย ที่นอกจากจะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง ผ่อนคลายความตึงเครียด ช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่ง เนื่องจากในปัจจุบันจำนวนผู้ที่ออกกำลังกายเป็นประจำยังมีจำนวนน้อยคิดเป็นร้อยละ 20 ของจำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด สาเหตุสำคัญที่ทำให้จำนวนกลุ่มเป้าหมายออกกำลังกายน้อย เนื่องจากขาดการรณรงค์ในพื้นที่ ไม่มีความรู้การออกกำลังกายที่เหมาะสมและขาดพื้นที่อุปกรณ์สาธารณะสำหรับการทำกิจกรรมออกกำลังกาย โครงการนี้จึงได้จัดทำขึ้นเพื่อรณรงค์ให้กลุ่มเป้าหมายออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้นและเพิ่มพื้นที่ อุปกรณ์สาธารณะที่ใช้ออกกำลังกายสำหรับกลุ่มเป้าหมาย ทำให้มีการออกกำลังกายที่หลากหลายขึ้นตามความเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพที่ดี
  2. 2. เพื่อสร้างความตื่นตัวและความตระหนักถึงความสำคัญในการออกำลังกาย
  3. 3. เพื่อให้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่หลากหลายในกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชึ้แจงทำความเข้าใจโครงการและออกแบบกิจกรรมคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มเป้าหมาย
  3. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมทางกายเดิน-วิ่ง 8 ครั้ง
  4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์ส่งเสริมการออกกำลังกายของคนในชุมชน เพื่อสุขภาพดี ชีวีมีสุข
  5. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมอนุรักษ์กีฬาพื้นบ้าน สานสัมพันธ์คนในชุมชน
  6. กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมสี่งเสริมการปลูกแปลงสาธิตสมุนไพรในรั้วมัสยิด
  7. กิจกรรมที่ 7 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้กลุ่มเป้าหมายตื่นตัว และรับรู้การทำกิจกรรมทางกายอย่างถูกวิธีและใช้เวลาในการทำกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น 2.ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามัคคี รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย 3.ทำให้กลุ่มเป้าหมาย หันมาดูแลสุขภาพเพิ่มมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีร่างกายที่แข็งแรง ลดโรคต่างๆ โดยเฉพาะโรคติดต่อไม่เรื้อรัง
30.00

 

2 2. เพื่อสร้างความตื่นตัวและความตระหนักถึงความสำคัญในการออกำลังกาย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตื่นตัวในการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น
100.00

 

3 3. เพื่อให้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่หลากหลายในกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีการออกกำลังกายที่หลากหลายขึ้น
10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพที่ดี (2) 2. เพื่อสร้างความตื่นตัวและความตระหนักถึงความสำคัญในการออกำลังกาย (3) 3. เพื่อให้มีกิจกรรมการออกกำลังกายที่หลากหลายในกลุ่มเป้าหมาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชึ้แจงทำความเข้าใจโครงการและออกแบบกิจกรรมคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มเป้าหมาย (3) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมทางกายเดิน-วิ่ง 8 ครั้ง (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเชื่อมสัมพันธ์ส่งเสริมการออกกำลังกายของคนในชุมชน เพื่อสุขภาพดี ชีวีมีสุข (5) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมอนุรักษ์กีฬาพื้นบ้าน สานสัมพันธ์คนในชุมชน (6) กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมสี่งเสริมการปลูกแปลงสาธิตสมุนไพรในรั้วมัสยิด (7) กิจกรรมที่ 7 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพดี ชีวีมีสุข หมู่ที่5 บ้านท่ายาง ต.ปากน้ำ อ.ละงู จ.สตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 64-L5312-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรอหมาด สอและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด