กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน


“ โครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ”

ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางปพิชญา ปัทมินทร์

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L8281-1-13 เลขที่ข้อตกลง 15/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 พฤษภาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

ปัจจุบันระบบสุขภาพของคนไทยอยู่ในช่วงการปฏิรูปสุขภาพ จากอดีตที่ผ่านมางบประมาณด้านซ่อมสุขภาพต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นอย่างมาก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและโรคเลือด เป็นโรคเรื้อรังที่ต้องให้ความสำคัญ พบว่ามีผู้ป่วยในกลุ่มนี้เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลจำนวนเพิ่มขึ้น ทุก ๆ ปี

  จากการตระหนักถึงการป้องกันการเกิดโรค การส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ซึ่งใช้เงินหรืองบประมาณน้อยกว่าที่จะรักษาหรือซ่อมสุขภาพนั้น ปีงบประมาณ 2564 ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังตั้งแต่อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป เพื่อค้นหาผู้ป่วยและให้การดูแลสุขภาพตนเองป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน ควบคุมการบริโภคอาหาร ออกกำลังกาย โดยใช้ยาน้อยที่สุด ในเขตรับผิดชอบหมู่ 1 บ้านไอกาบู หมู่ ๕ บ้านน้ำตก หมู่ 10 บ้านรักธรรม หมู่ 12 บ้านน้อมเกล้า ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อดำเนินการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังและผู้ป่วย รวมทั้งค้นหากลุ่มป่วยเพื่อส่งต่อให้ได้รับการรักษาครั้งแรก
(2) เพื่อลดและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) ขั้นดำเนินการ
(2) กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 1
(3) กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 10
(4) กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 5
(5) กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 12

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันระบบสุขภาพของคนไทยอยู่ในช่วงการปฏิรูปสุขภาพ จากอดีตที่ผ่านมางบประมาณด้านซ่อมสุขภาพต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นอย่างมาก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและโรคเลือด เป็นโรคเรื้อรังที่ต้องให้ความสำคัญ พบว่า มีผู้ป่วยในกลุ่มนี้เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลจำนวนเพิ่มขึ้น ทุก ๆ ปี จากการตระหนักถึงการป้องกันการเกิดโรค การส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ซึ่งใช้เงินหรืองบประมาณน้อยกว่าที่จะรักษาหรือซ่อมสุขภาพนั้น ปีงบประมาณ ๒๕64 ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตกจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังตั้งแต่อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป เพื่อค้นหาผู้ป่วยและให้การดูแลสุขภาพตนเองป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน ควบคุมการบริโภคอาหาร ออกกำลังกาย โดยใช้ยาน้อยที่สุด ในเขตรับผิดชอบหมู่ 1 บ้านไอกาบู หมู่ ๕ บ้านน้ำตก หมู่ 10 บ้านรักธรรม หมู่ 12 บ้านน้อมเกล้าตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อดำเนินการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังและผู้ป่วย รวมทั้งค้นหากลุ่มป่วยเพื่อส่งต่อให้ได้รับการรักษาครั้งแรก
  2. เพื่อลดและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นดำเนินการ
  2. กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 1
  3. กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 10
  4. กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 5
  5. กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 12

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 627
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 627 คน ได้รับคัดกรองร้อยละ 90 2.กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจนสามารถกลับเป็นกลุ่มปกติได้ 3.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุกคน 4.ผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังไม่เพิ่มขึ้นและผู้ที่ป่วยแล้วสามารถควบคุมโรคได้ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 10

วันที่ 5 พฤษภาคม 2564 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป ที่ต้องตรวจคัดกรอง ให้กับ อสม. และจัดทำทะเบียนกลุ่ม 2.ประชุมเตรียมชี้แจงอสม. ในเรื่ององค์ความรู้วัตถุประสงค์โครงการ ก่อนลงพื้นที่ปฏิบัติงานในเขรับผิดชอบของตัวเอง
  2. คัดเลือกแกนนำ อสม. และอบรมแกนนำ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย หอกระจายข่าว เพื่อขอความร่วมมือสร้างกระแสในการสร้างสุขภาพ
  4. เจ้าหน้าที่และอสม.แกนนำอสม. ตรวจคัดกรองประชาชน 35 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบบันทึกการตรวจคัดกรอง พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก และตรวจคัดกรองในชุมชน ดังนี้ -หมู่ 10 บ้านรักธรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปและประเมินผลโครงการ หมู่บ้านรักธรรม

จากการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 กลุ่มเป้าหมายคือ
คนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 99 คน
คัดกรองโดยการเจาะเลือดปลายนิ้วมือหลังงดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 92 คน คิดเป็นร้อยละ 92.93  ไม่งดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 7.07
คัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 99 คิดเป็นร้อยละ 100
ได้ให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคได้จากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น การบรรยายให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การบริโภคอาหาร ที่เหมาะสมกับโรค การออกกำลังกาย การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนของการไม่ดูแลตนเอง เมื่อเป็นเบาหวาน การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต การดูแลเท้า และการติดป้ายการให้ความรู้เกี่ยวกับเบาหวาน และโรคความดันมีความเหมาะสมกับโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับความสนใจจากประชาชน

ประเมินความเพียงพอและความเหมาะสม     จากโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 งบประมาณและอุปกรณ์มีความเพียงพอและจำนวนประชากรที่เข้าโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ และได้รับความมือจากประชาชนเป็นอย่างดี ผลการดำเนินโครงการมีความสำเร็จได้ด้วยดี

กิจกรรมที่มอบให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการต่อ 1. ข้อมูลความเสี่ยงของผู้เข้าร่วมโครงการจากการคัดกรองเบาหวาน และความดัน 2. ติดตามการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดัน หลังสิ้นสุดโครงการ 6 เดือน 3. ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มีภาวะเสี่ยง

ปัญหาและอุปสรรค 1.ในการตรวจคัดกรองการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด ผ่านเกณฑ์ตามที่ตั้งไว้ในโครงการ ( เป้าหมาย ร้อยละ 90 ) 2.ช่วงเวลาในการตรวจคัดกรองเบาหวานเป็นฤดูผลไม้ ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด มีภาวะกลุ่มเสี่ยง

แนวทางการแก้ไข 1.ควรมีการประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมกว่านี้ 2.ควรจัดทำกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกฤดูผลไม้

 

99 0

2. กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 1

วันที่ 10 พฤษภาคม 2564 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป ที่ต้องตรวจคัดกรอง ให้กับ อสม. และจัดทำทะเบียนกลุ่ม 2.ประชุมเตรียมชี้แจงอสม. ในเรื่ององค์ความรู้วัตถุประสงค์โครงการ ก่อนลงพื้นที่ปฏิบัติงานในเขรับผิดชอบของตัวเอง
  2. คัดเลือกแกนนำ อสม. และอบรมแกนนำ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย หอกระจายข่าว เพื่อขอความร่วมมือสร้างกระแสในการสร้างสุขภาพ
  4. เจ้าหน้าที่และอสม.แกนนำอสม. ตรวจคัดกรองประชาชน 35 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบบันทึกการตรวจคัดกรอง พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก และตรวจคัดกรองในชุมชน ดังนี้  -หมู่ 1 บ้านไอกาบู

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปและประเมินผลโครงการ หมู่บ้านไอกาบู

จากการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 กลุ่มเป้าหมายคือ
คนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 136 คน
คัดกรองโดยการเจาะเลือดปลายนิ้วมือหลังงดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 126 คน คิดเป็นร้อยละ 92.65  ไม่งดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 7.35
คัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 136 คิดเป็นร้อยละ 100
ได้ให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคได้จากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น การบรรยายให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การบริโภคอาหาร ที่เหมาะสมกับโรค การออกกำลังกาย การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนของการไม่ดูแลตนเอง เมื่อเป็นเบาหวาน การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต การดูแลเท้า และการติดป้ายการให้ความรู้เกี่ยวกับเบาหวาน และโรคความดันมีความเหมาะสมกับโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับความสนใจจากประชาชน

ประเมินความเพียงพอและความเหมาะสม จากโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 งบประมาณและอุปกรณ์มีความเพียงพอและจำนวนประชากรที่เข้าโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ และได้รับความมือจากประชาชนเป็นอย่างดี ผลการดำเนินโครงการมีความสำเร็จได้ด้วยดี

กิจกรรมที่มอบให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการต่อ 1. ข้อมูลความเสี่ยงของผู้เข้าร่วมโครงการจากการคัดกรองเบาหวาน และความดัน 2. ติดตามการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดัน หลังสิ้นสุดโครงการ 6 เดือน 3. ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มีภาวะเสี่ยง

ปัญหาและอุปสรรค 1.ในการตรวจคัดกรองการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด ผ่านเกณฑ์ตามที่ตั้งไว้ในโครงการ ( เป้าหมาย ร้อยละ 90 ) 2.ช่วงเวลาในการตรวจคัดกรองเบาหวานเป็นฤดูผลไม้ ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด มีภาวะกลุ่มเสี่ยง

แนวทางการแก้ไข 1.ควรมีการประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมกว่านี้ 2.ควรจัดทำกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกฤดูผลไม้

 

136 0

3. กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 5

วันที่ 17 พฤษภาคม 2564 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป ที่ต้องตรวจคัดกรอง ให้กับ อสม. และจัดทำทะเบียนกลุ่ม 2.ประชุมเตรียมชี้แจงอสม. ในเรื่ององค์ความรู้วัตถุประสงค์โครงการ ก่อนลงพื้นที่ปฏิบัติงานในเขรับผิดชอบของตัวเอง
  2. คัดเลือกแกนนำ อสม. และอบรมแกนนำ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย หอกระจายข่าว เพื่อขอความร่วมมือสร้างกระแสในการสร้างสุขภาพ
  4. เจ้าหน้าที่และอสม.แกนนำอสม. ตรวจคัดกรองประชาชน 35 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบบันทึกการตรวจคัดกรอง พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก และตรวจคัดกรองในชุมชน ดังนี้ -หมู่ 5 บ้านน้ำตก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปและประเมินผลโครงการ หมู่บ้านน้ำตก

จากการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 กลุ่มเป้าหมายคือ
คนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 195 คน
คัดกรองโดยการเจาะเลือดปลายนิ้วมือหลังงดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 93.33  ไม่งดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 6.67
คัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 195 คิดเป็นร้อยละ 100
ได้ให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคได้จากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น การบรรยายให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การบริโภคอาหาร ที่เหมาะสมกับโรค การออกกำลังกาย การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนของการไม่ดูแลตนเอง เมื่อเป็นเบาหวาน การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต การดูแลเท้า และการติดป้ายการให้ความรู้เกี่ยวกับเบาหวาน และโรคความดันมีความเหมาะสมกับโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับความสนใจจากประชาชน

ประเมินความเพียงพอและความเหมาะสม จากโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 งบประมาณและอุปกรณ์มีความเพียงพอและจำนวนประชากรที่เข้าโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ และได้รับความมือจากประชาชนเป็นอย่างดี ผลการดำเนินโครงการมีความสำเร็จได้ด้วยดี

กิจกรรมที่มอบให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการต่อ 1. ข้อมูลความเสี่ยงของผู้เข้าร่วมโครงการจากการคัดกรองเบาหวาน และความดัน 2. ติดตามการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดัน หลังสิ้นสุดโครงการ 6 เดือน 3. ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มีภาวะเสี่ยง

ปัญหาและอุปสรรค 1.ในการตรวจคัดกรองการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด ผ่านเกณฑ์ตามที่ตั้งไว้ในโครงการ ( เป้าหมาย ร้อยละ 90 ) 2.ช่วงเวลาในการตรวจคัดกรองเบาหวานเป็นฤดูผลไม้ ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด มีภาวะกลุ่มเสี่ยง

แนวทางการแก้ไข 1.ควรมีการประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมกว่านี้ 2.ควรจัดทำกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกฤดูผลไม้

 

195 0

4. กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 12

วันที่ 24 พฤษภาคม 2564 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป ที่ต้องตรวจคัดกรอง ให้กับ อสม. และจัดทำทะเบียนกลุ่ม 2.ประชุมเตรียมชี้แจงอสม. ในเรื่ององค์ความรู้วัตถุประสงค์โครงการ ก่อนลงพื้นที่ปฏิบัติงานในเขรับผิดชอบของตัวเอง
  2. คัดเลือกแกนนำ อสม. และอบรมแกนนำ การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย หอกระจายข่าว เพื่อขอความร่วมมือสร้างกระแสในการสร้างสุขภาพ
  4. เจ้าหน้าที่และอสม.แกนนำอสม. ตรวจคัดกรองประชาชน 35 ปีขึ้นไป โดยใช้แบบบันทึกการตรวจคัดกรอง พื้นที่ดำเนินการ
    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก และตรวจคัดกรองในชุมชน ดังนี้ -หมู่ 12 บ้านน้อมเกล้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปและประเมินผลโครงการ หมู่บ้านน้อมเกล้า

จากการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 กลุ่มเป้าหมายคือ
คนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 197 คน
คัดกรองโดยการเจาะเลือดปลายนิ้วมือหลังงดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 186 คน คิดเป็นร้อยละ 94.42 ไม่งดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 5.58
คัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 197 คิดเป็นร้อยละ 100
ได้ให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคได้จากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น การบรรยายให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การบริโภคอาหาร ที่เหมาะสมกับโรค การออกกำลังกาย การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนของการไม่ดูแลตนเอง เมื่อเป็นเบาหวาน การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต การดูแลเท้า และการติดป้ายการให้ความรู้เกี่ยวกับเบาหวาน และโรคความดันมีความเหมาะสมกับโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับความสนใจจากประชาชน

ประเมินความเพียงพอและความเหมาะสม จากโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 งบประมาณและอุปกรณ์มีความเพียงพอและจำนวนประชากรที่เข้าโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ และได้รับความมือจากประชาชนเป็นอย่างดี ผลการดำเนินโครงการมีความสำเร็จได้ด้วยดี

กิจกรรมที่มอบให้อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการต่อ 1. ข้อมูลความเสี่ยงของผู้เข้าร่วมโครงการจากการคัดกรองเบาหวาน และความดัน 2. ติดตามการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดัน หลังสิ้นสุดโครงการ 6 เดือน 3. ติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่มีภาวะเสี่ยง

ปัญหาและอุปสรรค 1.ในการตรวจคัดกรองการประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด ผ่านเกณฑ์ตามที่ตั้งไว้ในโครงการ ( เป้าหมาย ร้อยละ 90 ) 2.ช่วงเวลาในการตรวจคัดกรองเบาหวานเป็นฤดูผลไม้ ทำให้การตรวจน้ำตาลในเลือด มีภาวะกลุ่มเสี่ยง

แนวทางการแก้ไข 1.ควรมีการประชาสัมพันธ์การตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมกว่านี้ 2.ควรจัดทำกิจกรรมโครงการเกี่ยวกับเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกฤดูผลไม้

 

197 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 627 คน ได้รับคัดกรองร้อยละ 90

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อดำเนินการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังและผู้ป่วย รวมทั้งค้นหากลุ่มป่วยเพื่อส่งต่อให้ได้รับการรักษาครั้งแรก
ตัวชี้วัด : กลุ่มป่วยรายใหม่ได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษาทุกราย
627.00 0.00 627.00

1.กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 627 คน ได้รับคัดกรองร้อยละ 90 2.กลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจนสามารถกลับเป็นกลุ่มปกติได้

2 เพื่อลดและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ลดลง
672.00 0.00 627.00

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุกคน 2 .ผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังไม่เพิ่มขึ้นและผู้ที่ป่วยแล้วสามารถควบคุมโรคได้ดี

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 627
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 627
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ปัจจุบันระบบสุขภาพของคนไทยอยู่ในช่วงการปฏิรูปสุขภาพ จากอดีตที่ผ่านมางบประมาณด้านซ่อมสุขภาพต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นอย่างมาก โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและโรคเลือด เป็นโรคเรื้อรังที่ต้องให้ความสำคัญ พบว่ามีผู้ป่วยในกลุ่มนี้เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลจำนวนเพิ่มขึ้น ทุก ๆ ปี

  จากการตระหนักถึงการป้องกันการเกิดโรค การส่งเสริมสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี ซึ่งใช้เงินหรืองบประมาณน้อยกว่าที่จะรักษาหรือซ่อมสุขภาพนั้น ปีงบประมาณ 2564 ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตก จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังตั้งแต่อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป เพื่อค้นหาผู้ป่วยและให้การดูแลสุขภาพตนเองป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อน ควบคุมการบริโภคอาหาร ออกกำลังกาย โดยใช้ยาน้อยที่สุด ในเขตรับผิดชอบหมู่ 1 บ้านไอกาบู หมู่ ๕ บ้านน้ำตก หมู่ 10 บ้านรักธรรม หมู่ 12 บ้านน้อมเกล้า ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
(1) เพื่อดำเนินการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังและผู้ป่วย รวมทั้งค้นหากลุ่มป่วยเพื่อส่งต่อให้ได้รับการรักษาครั้งแรก
(2) เพื่อลดและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
(1) ขั้นดำเนินการ
(2) กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 1
(3) กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 10
(4) กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 5
(5) กิจกรรมที่ 2 ชั้งน้ำหนัก วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต เจาะน้ำตาล หมู่ 12

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

จากการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 กลุ่มเป้าหมายคือ คนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 627 คน
คัดกรองโดยการเจาะเลือดปลายนิ้วมือหลังงดน้ำ งดอาหาร เจาะเบาหวาน จำนวน 627 คน คิดเป็นร้อยละ 98.53
คัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 627 คิดเป็นร้อยละ 98.34
ได้ให้ความรู้ในเรื่องการบริโภคได้จากการปฏิบัติกิจกรรม เช่น การบรรยายให้ความรู้ในเรื่องการดูแลตนเองและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน ได้แก่ การบริโภคอาหาร ที่เหมาะสมกับโรค การออกกำลังกาย การปฏิบัติตัวของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะแทรกซ้อนของการไม่ดูแลตนเอง เมื่อเป็นเบาหวาน การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต การดูแลเท้า และการติดป้ายการให้ความรู้เกี่ยวกับเบาหวาน และโรคความดันมีความเหมาะสมกับโครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับความสนใจจากประชาชน

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง

รหัสโครงการ 64-L8281-1-13 รหัสสัญญา 15/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 พฤษภาคม 2564 - 31 พฤษภาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสุขภาพดีวิถีไทย การป้องกันและดูแลรักษาโรคเรื้อรัง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L8281-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปพิชญา ปัทมินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด