กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนันทา ด้วงวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325641004 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มกราคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L336325641004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มกราคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ทำให้วิถีชีวิตความเป็นอยู่เปลี่ยนตามสภาพจากเดิม ทำให้พฤติกรรมของแต่ละคนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองอันนำไปสู่ระบบการทำงานต่างๆ ของร่างกายเริ่มจะเสื่อมโทรมลงและมีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่ายมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคเรื้อรัง Metabotic ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไขมันในเลือดปกคิ โรคหลอดเลือดหัวใจ ทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะทนทุกข์ทรมาน และทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิต การดูแลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังนั้นไม่ได้จำกัดอยู่เฉพาะโดยแพทย์เท่านั้น แต่ขึ้นอยู่กับการดูแลตนเองของผู้ป่วย และการตรวจป้องกันภาวะแทรกซ้อน จอกจากยังควรมีการติดตามเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านเพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาของการดูแลตนเองและร่วมหารือ และแนะนำการแก้ไขปัญหาสุขภาพกับผู้ป่วยแต่ละราย ปัจจุบันผู้ป่วยที่มารับบริการดูแลรักษาโรคเรื้อรังดังกล่าวมีเป็นจำนวนมาก และมากขึ้นเรื่อยๆ แต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ก็ยังไม่ได้รับบริการดูแลภาวะแทรกซ้อนได้อย่าง ทำให้ไม่เกิดความยั่งยืนในระบบการดูแลสุขภาพ ผู้ป่วยและครอบครัวมีศักยภาพในการดูแลตนเองน้อย ทำให้ผู้ป่วยส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งแพทย์ พยาบาล และทีมงานเป็นหลัก แต่ในความเป็นจริงการที่สามารถให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย ได้ตระหนักในการดูแลตนเอง มีความรู้ สร้างทัศนคติ จะสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และปฏิบัติตัวให้ห่างจากการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย เพื่อลดงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยได้เป็นจำนวนมาก
    ดังนั้นเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง Metabolic ได้แก่โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำใน จึงได้จัดทำโครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 ป้องกันภาวะแทรกซ้อนขึ้น เพื่อดูแลส่งเสริมสุขภาพและป้องกันกลุ่มป่วยมีสุขภาพที่ดี ไม่มีโรคแทรกซ้อนซึ่งจะทำให้สูญเสียชีวิตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องในการดูแลตนเองได้
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรค
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยที่ควบคุมโรคได้ดีเป็นต้นแบบและมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้กับผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกเติมยา
  2. กิจกรรมที่ 2 ติตดามผลการประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 เดือน จากผลสุขภาพค่าระดับน้ำตาลในเลือด/ค่าความดันโลหิตในเลือด หลังจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง โดยแบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 90
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติในการบริโภคอาหารได้ดีขึ้น
  2. ผู้ป่วยมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรค
  3. ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคเรื้อรังให้น้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องในการดูแลตนเองได้
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 50
90.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรค
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
90.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยที่ควบคุมโรคได้ดีเป็นต้นแบบและมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยกัน
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 70
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 90
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องในการดูแลตนเองได้ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารที่ถูกต้องเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรค (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยที่ควบคุมโรคได้ดีเป็นต้นแบบและมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้กับผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกเติมยา (2) กิจกรรมที่ 2 ติตดามผลการประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 เดือน จากผลสุขภาพค่าระดับน้ำตาลในเลือด/ค่าความดันโลหิตในเลือด หลังจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้ป่วยเรื้อรัง โดยแบ่งเป็น 2 รุ่นๆ ละ 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประจำปี 2564 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L336325641004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนันทา ด้วงวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด