กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงวัยต้านภัยข้อเข่าเสื่อม “เข่าดี ชีวาสุข” ประจำปี 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงวัยต้านภัยข้อเข่าเสื่อม “เข่าดี ชีวาสุข” ประจำปี 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล




ชื่อโครงการ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงวัยต้านภัยข้อเข่าเสื่อม “เข่าดี ชีวาสุข” ประจำปี 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L7258-1-43 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 30 กรกฎาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงวัยต้านภัยข้อเข่าเสื่อม “เข่าดี ชีวาสุข” ประจำปี 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงวัยต้านภัยข้อเข่าเสื่อม “เข่าดี ชีวาสุข” ประจำปี 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงวัยต้านภัยข้อเข่าเสื่อม “เข่าดี ชีวาสุข” ประจำปี 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L7258-1-43 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ข้อเข่าเสื่อมหรือโรคข้อเข่าเสื่อม  เป็นภาวะที่ข้อเข่าผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานานเกิดการเสื่อมของกระดูกอ่อนบริเวณผิวข้อ  ทำให้การงอกของกระดูกเวลาเดินจะเจ็บข้อ  มีการผิดรูปของข้อเข่า โรคข้อเข่าเสื่อมมักพบในผู้สูงอายุ  ทำให้เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง  คุณภาพชีวิตลดลง  และทำให้โรคอื่น ๆ กำเริบ เช่น โรคเบาหวาน  ความดันโลหิตสูง เนื่องจากออกกำลังไม่ได้ โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคที่พบได้บ่อยมากในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดอาการปวดเข่า บวม เข่าฝืดยึด มีเสียงดังในเข่า ไม่สามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ดังปกติ ซึ่งมีความรุนแรงมากน้อยต่างกันไป สาเหตุมีได้หลายประการ เช่น ผลสะสมจากความเสื่อมและการใช้ข้อเข่าที่ไม่ถูกต้องตั้งแต่วัยหนุ่มสาว การที่มีน้ำหนักตัวมาก ๆ ทำให้เข่าต้องรับน้ำหนัก ที่เพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในทุกขณะที่ก้าวเดิน หรือเคยได้รับอุบัติเหตุบริเวณข้อเข่ามาก่อน บางรายเคยมีการอักเสบติดเชื้อ หรือเป็นโรคไขข้อบางชนิด เช่น โรครูมาตอยด์ เป็นต้น จากสถานการณ์พบว่า โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคหนึ่งในสิบโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญอันก่อให้เกิดผู้สูงอายุทุพพลภาพในประเทศไทยทำให้ผู้ป่วยต้องมีชีวิตอยู่อย่างไร้สมรรถภาพในการประกอบอาชีพหรือการใช้ชีวิตประจำวัน เนื่องจากมีพยาธิสภาพที่กระดูกอ่อนผิวข้อ อันก่อให้มีอาการปวดจากผิวข้อชำรุดและการอักเสบหากเป็นต่อเนื่อง ทำให้เกิดโรคข้อเสื่อมรุนแรง ช่องว่างผิวข้อหายไป และกระดูกอ่อนผิวข้อชำรุดไปหมด หรือกระดูกปลายข้อทรุดตัว ทำให้เข่าโก่งมากขึ้นได้ (ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิส์แห่งประเทศไทย :แนวปฏิบัติบริการสาธารณสุข โรคข้อเข่าเสื่อม ๒๕๕๓) ในปัจจุบันพบว่ามีการใช้ยาในการรักษาภาวะข้อเสื่อมนี้เป็นจำนวนมากรองจากยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) โดยเฉพาะยาแก้อักเสบในกลุ่ม NSAIDs (Non-Steroid Anti-inflammatory Drugs) ซึ่งส่วนมากเป็นการรักษาอาการปวดที่ปลายเหตุเสียมากกว่า และมักจะมีผลเสียในการก่อให้เกิดปัญหาเรื่องแผลในกระเพาะอาหารตามมา อุบัติการณ์ของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมพบประมาณ ๑ ใน ๓ หรือคิดเป็นร้อยละ ๓๔.๕-๔๕.๖ ของประชากรทั้งประเทศ และมีความสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมาก โดยมีงานวิจัยพบว่า ค่าใช้จ่ายต่อคนต่อ ๑ ปี ของคนที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม รวมทุกอย่าง เช่น ค่ายา ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลหรือค่าเสียเวลาในการดูแลรักษาสุขภาพทางด้านนี้ พบว่ามีค่าใช้จ่าย ประมาณปีละ ๒๐๐,๐๐๐ บาทต่อคนจะเห็นได้ว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่สูงมากอาจเป็นเพราะว่าโรคข้อเข่าเสื่อมจะไม่ทำให้คนเป็นเสียชีวิตได้เพียงแต่ทำให้คุณภาพชีวิตลดลงเท่านั้น
ซึ่งส่วนใหญ่ภาวะข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ และคนทั่วไปที่มีน้ำหนักเกิน และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ จากการที่ประชากรทั่วไปและผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างมาก ในปัจจุบันประเทศไทยพบผู้ป่วยมากกว่า 6 ล้านคน ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไปพบได้ถึงร้อยละ 50 สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากน้ำหนักตัวที่มากใช้เข่ามาก ใช้นานกว่าปกติ หรือผิดท่า รวมถึงพฤติกรรมการใช้เข่าที่ผิด เช่น นั่งคุกเข่าพับเพียบ ขัดสมาธิ ซึ่งเป็นท่าที่ทำให้ข้อเข่าถูกกดพับ และเอ็นกล้ามเนื้อถูกยืดมาก การนั่งเช่นนั้นนานๆ รวมถึงน้ำหนักตัวมาก ทำให้การหมุนเวียนของเลือดไปเลี้ยงเข่าไม่ได้ดี และเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุไม่ค่อยชอบออกกำลังกาย ทำให้เข่าต้องแบกน้ำหนักส่วนเกินนั้น กล้ามเนื้อจึงหย่อนสมรรถภาพลง จึงทำให้เป็นโรคเข่าเสื่อมได้ง่ายผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมากๆ จะมีอาการเจ็บหรือปวด ข้อเข่าผิดรูปข้อฝืด หรือข้อติด เดินได้ไม่ปกติ การปฏิบัติภารกิจประจำวันต่างๆ ทำได้ไม่สะดวก ส่งผลให้เกิดความทุกข์ทรมานทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
จากข้อมูลประชากรเทศบาลนครหาดใหญ่ จำนวน 158,392 คน ปัจจุบันมีผู้สูงอายุ จำนวน 22,183 คน  คิดเป็นร้อยละ 14 ของจำนวนประชากรทั้งหมด เมื่อเทียบสัดส่วนถือว่ามีจำนวนมากขึ้นซึ่งเปรียบเทียบกับประชากร  ช่วงอายุต่าง ๆ และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ ผู้สูงอายุที่มีอยู่ในชุมชนมีหลายระดับ ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่มีฐานะทางเศรษฐกิจต่ำ ต้องใช้แรงงานหนักในการประกอบอาชีพ จึงมีปัญหาปวดเข่าและปวดเมื่อยตามร่างกายเป็นประจำ ผู้สูงอายุบางรายต้องกลายเป็นผู้พิการ เนื่องจากไม่ได้รับการรักษาและดูแลตัวเองอย่างถูกวิธี  ดังนั้นเพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมและภาวะแทรกซ้อน รวมถึงการดูแลตนเองให้ห่างไกลจากโรคข้อเข่าเสื่อม ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่      เป็นศูนย์บริการสาธารณสุขที่มุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน การรักษาและฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วย ผู้สูงอายุ และบุคคลทั่วไป ให้บริการประชาชนด้วยบริการด้านสุขภาพแบบผสมผสานทั้งการแพทย์แผนตะวันตกและการแพทย์แผนไทย โดยทีมสหวิชาชีพต่างๆ อาทิเช่น พยาบาลวิชาชีพ นักกายภาพบำบัด นักพัฒนาการกีฬา นักโภชนาการ และนักการแพทย์แผนไทย ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่  จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญสุขภาพของผู้สูงอายุในชุมชน ที่มีแนวโน้มเป็นโรคข้อเข่าเสื่อม และผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง ให้ได้รับการประเมินโรคข้อเข่าเสื่อม เพื่อให้ผู้ที่มีโรคข้อเข่าเสื่อมในระยะเริ่มต้นได้บำบัดอาการ ชะลอความรุนแรงของโรค และผู้ที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อลดอาการปวดเข่าได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถชะลอกระบวนการดำเนินของโรคไปสู่ระยะที่มีความรุนแรงของโรคลดลง จึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงวัยต้านภัยข้อเข่าเสื่อม “เข่าดี ชีวาสุข”ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ขึ้น โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการดูแลตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการฝึกทักษะ พฤติกรรมการดูแลข้อเข่ารายบุคคลสอดคล้องกับปัญหา
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งต่อการดูแลรักษาต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ลดโอกาสการเกิดผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน ติดเตียง และลดจำนวนคนพิการ อันมีสาเหตุเนื่องมาจากภาวะโรคข้อเข่าเสื่อม
    2. ลดปัญหาภาวะพึ่งพิงของผู้สูงอายุ ให้สามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างสุขภาพดี มีความสุข
    3. ผู้สูงอายุมีระบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อป้องกันและลดความรุนแรงของภาวะโรคข้อเข่าเสื่อม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการดูแลตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการดูแลตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม
    0.00

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการฝึกทักษะ พฤติกรรมการดูแลข้อเข่ารายบุคคลสอดคล้องกับปัญหา
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการฝึกทักษะ พฤติกรรมการดูแลข้อเข่ารายบุคคลสอดคล้องกับปัญหา
    0.00

     

    3 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งต่อการดูแลรักษาต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งต่อการดูแลรักษาต่อเนื่อง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการดูแลตนเอง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการฝึกทักษะ พฤติกรรมการดูแลข้อเข่ารายบุคคลสอดคล้องกับปัญหา (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งต่อการดูแลรักษาต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงวัยต้านภัยข้อเข่าเสื่อม “เข่าดี ชีวาสุข” ประจำปี 2564 ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/64 เมื่อวันที่ 28-29 มกราคม 2564 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 64-L7258-1-43

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด