กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการการส่งเสริมผู้สูงวัย สุขภาพฟันดี มีความสุข ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเนียน

ชื่อโครงการ โครงการการส่งเสริมผู้สูงวัย สุขภาพฟันดี มีความสุข ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการส่งเสริมผู้สูงวัย สุขภาพฟันดี มีความสุข ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมผู้สูงวัย สุขภาพฟันดี มีความสุข ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการส่งเสริมผู้สูงวัย สุขภาพฟันดี มีความสุข ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,522.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อการมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพช่องปากไม่ดีอาจส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยทางร่างกายหรือทำให้คุณภาพชีวิตลดลง จากการศึกษา พบว่า ผู้ที่มีสุขภาพช่องปากดีและมีจำนวนฟันในช่องปากมากจะรับประทานอาหาร/มีการกลืนที่ดีกว่าผู้ที่มีสุขภาพช่องปากไม่ดีหรือมีฟันน้อย ซึ่งกลุ่มอายุที่มีปัญหาจำนวนฟันในช่องปากเหลือน้อยส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มผู้สูงอายุ จากการสำรวจสภาวะทันต์สุขภาพระดับประเทศครั้งที่8 (ล่าสุด) ปี พ.ศ. 2560 พบว่าผู้สูงอายุ 60-74 ปี มีฟันใช้งานอย่างน้อย20 ซี่และมีคู่สบฟันหลัง 4 คู่สบ ร้อยละ 39.4 ไม่มีฟันทั้งปาก ร้อยละ 8.7 มีร่องลึก ปริทันต์ ≥6 มม. ร้อยละ12.2 และจากการสำรวจของตำบลท่าโพธิ์ ปี2563 พบว่า ผู้สูงอายุมีอัตราฟันผุ ร้อยละ 43.5 เหงือกอักเสบ/หินปูน ร้อยละ 74.6 ไม่มีฟันทั้งปาก ร้อยละ 25.6           ซึ่งการสูญเสียฟันในผู้สูงอายุนั้น ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการบดเคี้ยวอาหาร การกัดและการกลืนอาหาร ทำให้ผู้สูงอายุได้รับสารอาหารไม่ครบ 5 หมู่ อาจส่งผลต่อสุขภาพโดยรวมทำให้ร่างกายอ่อนแอและเจ็บป่วยง่าย นอกจากนี้ยังส่งผลให้ความสูงของใบหน้าลดลงเนื่องจากไม่มีฟันมารองรับ ใบหน้าเหี่ยวย่น เกิดการพูดไม่ชัดและอาจทำให้เกิดความกังวลในการเข้าสังคมได้ โดยสาเหตุของโรคในช่องปากเกิดจาก การเรียงตัวของฟันที่ล้มเอียง ทำให้ผู้สูงอายุทำความสะอาดช่องปากได้ไม่ดีทำให้เกิดการสะสมของเชื้อโรคซึ่งเป็นสาเหตุของโรคฟันผุ และพฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคปริทันต์อักเสบ เช่น การสูบบุหรี่ การเคี้ยวหมาก ความสามารถในการเคลื่อนไหว การมองเห็นที่ลดลง เนื่องจากอายุที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้ประสิทธิภาพในการดูแลอนามัยช่องปากลดลง ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ควบคุมไม่ได้ จะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะที่รุนแรงของโรคปริทันต์เพิ่มขึ้น การเข้ารับบริการทันตกรรมของผู้สูงอายุ เนื่องจากผู้สูงอายุจะคิดว่าอายุมากแล้วไม่มีความจำเป็นต้องมารับบริการ
          เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาพช่องปากที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ จะต้องใส่ใจและเข้าไปมีส่วนร่วมในการดูแลทั้งผู้สูงอายุที่ติดสังคม สามารถช่วยเหลือตนเองได้ดี ผู้สูงอายุติดบ้านหรือแม้กระทั้งผู้สูงอายุที่ติดเตียงที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ จึงดำเนินโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุตำบลท่าโพธิ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม ช่วยลดการสูญเสียฟันและลดรอยโรคในช่องปาก อีกทั้งทำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้
  2. เพื่อติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุที่บ้าน(ผู้สูงอายุติดบ้าน/ติดเตียง)
  3. เพื่อลดปัญหาสุขาภาพช่องปากและปัญหาไม่มีฟันเคี้ยวในผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 818
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพช่องปากตนเองช่องปากของตนเองได้ ตลอดจนสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้อื่นได้ 2.ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น คราบจุลินทรีย์ในช่องปากลดน้อยลง 3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้
    ตัวชี้วัด : 1) ผู้สูงอายุ ได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ ร้อยละ 80 2) ผู้สูงอายุมีความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20
    0.00

     

    2 เพื่อติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุที่บ้าน(ผู้สูงอายุติดบ้าน/ติดเตียง)
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ(ติดบ้าน/ติดเตียง)ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ร้อยละ80
    0.00

     

    3 เพื่อลดปัญหาสุขาภาพช่องปากและปัญหาไม่มีฟันเคี้ยวในผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : คราบจุลินทรีย์ในช่องปากลดลง ร้อยละ10
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 818
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 818
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้ (2) เพื่อติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุที่บ้าน(ผู้สูงอายุติดบ้าน/ติดเตียง) (3) เพื่อลดปัญหาสุขาภาพช่องปากและปัญหาไม่มีฟันเคี้ยวในผู้สูงอายุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการส่งเสริมผู้สูงวัย สุขภาพฟันดี มีความสุข ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเนียน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด