กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ


“ โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุุ ”

ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจินตนา สามทอง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุุ

ที่อยู่ ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1542-2-15 เลขที่ข้อตกลง /2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 24 กุมภาพันธ์ 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุุ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1542-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กุมภาพันธ์ 2564 - 24 กุมภาพันธ์ 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงในวัยสูงอายุมีปัจจัยสำคัญ 2 ประการ คือ ปัจจัยทางกรรมพันธุ์ และปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม พบว่าสภาพแวดล้อมที่มีความสำคัญก็คือ ภาวะโภชนาการ และวิถีทางดำเนินชีวิต การที่ผู้สูงอายุได้รับสารอาหารไม่เพียงพอหรือได้มากเกินไป มีผลซ้ำเติมอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ซึ่งมีแนวโน้มจะเสื่อมอยู่แล้วให้เสื่อมยิ่งขึ้น การส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ จึงต้องคำนึงถึงความต้องการสารอาหาร โดยเน้นความสมดุลความพอเหมาะพอดี และความหลากหลายของอาหาร นอกจากนี้การออกกำลังกาย การผ่อนคลายทางกาย ทางจิต และการหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นพิษ ก็เป็นปัจจัยที่สำคัญสำหรับพื้นฐานการมีสุขภาพดีของผู้สูงอายุ ปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับอาหารและโภชนาการ เนื่องจากระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายเปลี่ยนแปลงไป ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ทำงานด้อยลง การรับรู้รสและกลิ่นน้อยลง ทำให้ความอยากอาหารลดลงด้วย ประกอบกับมีปัญหาเรื่องเหงือกและฟัน และระบบการย่อย การดูดซึมอาหารไม่ดี จึงทำให้เกิดอาการท้องอืดท้องเฟ้อ บางทีก็ท้องผูกมีโอกาสเกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย ปัญหาของผู้สูงอายุในเรื่องอาหารการกิน จึงมีปัญหาทั้งกินไม่ได้และกินไม่พอจนทำให้เกิดภาวะขาดสารอาหาร เช่น การขาดแร่ธาตุแคลเซียม เหล็ก และขาดวิตามินต่างๆ ถ้าผู้สูงอายุได้อาหารบางอย่างมากไปไม่ถูกส่วน หรือไม่ได้ครบ 5 หมู่ ก็อาจเกิดปัญหาโรคเรื้อรัง เช่น โรคอ้วน โรคเบาหวาน ไขมันอุดตันในหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง เป็นต้น ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะชะลอหรือป้องกันได้ถ้าผู้ที่อยู่ใกล้ชิดหรือมีความเกี่ยวข้องต่างๆ ให้ความเอาใจใส่ แนะนำเกี่ยวกับเรื่องการบริโภคอาหาร  จากวิถีชีวิตของชุมชน การดูแลด้านโภชนาการของผู้สูงวัย ควรคำนึงถึงสภาพการณ์ต่างๆ เช่น อาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุในแต่ละสภาวะ และทรัพยากรธรรมชาติที่เรามีอยู่ ซึ่งสามารถดัดแปลงให้เหมาะสมโดยพิจารณาถึงคุณภาพและเศรษฐกิจของครอบครัวเป็นหลัก พร้อมกันนั้นควรต้องยอมรับด้วยว่า อาหารที่เหมาะสมสำหรับคนสูงอายุคนหนึ่ง อาจจะไม่เหมาะสมสำหรับอีกคนหนึ่ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับหน้าที่ทางกายภาพ สภาพของระบบอวัยวะของแต่ละคน ซึ่งโภชนาการที่ดีจะช่วยป้องกันการเกิดโรคต่างๆ ทั้งนี้ การเตรียมอาหารที่มีคุณภาพ ควรให้ผู้สูงอายุรับประทานได้ครบ 5 หมู่ กินผลไม้มากกว่าขนมหวาน ผู้สูงอายุที่มีปัญหาเรื่องไขมันในเลือดสูง เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ ควรลดอาหารที่ไขมันอิ่มตัวสูง เช่น เนื้อสัตว์ติดมัน เบเกอรี่ และควรหันไปเลือกไขมันเชิงเดี่ยวที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งมีอยู่ในน้ำมันมะกอก น้ำมันคาโบลา น้ำมันรำข้าวแทน ควรจะดูแลน้ำหนักให้สอดคล้องกับอายุและสภาพร่างกายด้วย ขณะที่คนที่เป็นโรคความดันและโรคหัวใจ ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีความเค็มหรือมีโซเดียมสูง  ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลตะเสะ จึงเห็นความสำคัญและความจำเป็นอย่างยิ่งที่กลุ่มผู้สูงอายุในเขตพื้นที่ตำบลตะเสะ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสม ปรุงอาหารที่สะอาดปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหาร ที่เหมาะสม ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. 1.ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมตามวัย
  2. 2.ผู้สูงอายุสามารถเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการเหมาะสมตามวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

1อบรมให้ความรู้ จำนวน 1 วัน 2.ประชุมคณะทำงานถอดบทเรียนโครงการฯ จาการติดตามประเมินผลสุขภาพผู้ศุงอายุที่เข้าร่วม   จำนวน 1  วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต กลุ่มเป้าหมาย ครบ ๑๐๐  % ผลลัพธ์ 1.ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารใหเหมาะสมกับวัยร้อยละ  ๗๐ 2.ผู้สูงอายุได้รับการติอตามประเมินผลสุขภาพ ร้อยละ ๑๐๐ 3คณะทำงานโครงการฯ สามารถทราบถึงการต่อยอดในการดำเนินการโครงการครั้งต่อไป

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหาร ที่เหมาะสม ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหาร ที่เหมาะสม ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหาร  ที่เหมาะสม ข้อที่  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุุ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1542-2-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจินตนา สามทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด