กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง


“ โครงการการจัดการขยะชุมชนบ้านยือแร ”

ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมุตาดี เจ๊ะมะ

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะชุมชนบ้านยือแร

ที่อยู่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3032-02-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะชุมชนบ้านยือแร จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะชุมชนบ้านยือแร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการขยะชุมชนบ้านยือแร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3032-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กุมภาพันธ์ 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนต่อวันใน พ.ศ. 2560 ประเทศไทยมีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ ประมาณ 27.37 ล้านตัน หรือ 74,998 ตันต่อวัน เพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2559 ร้อยละ 1.15ที่มีปริมาณเกิดขึ้น 27.06 ล้านตัน เนื่องจาก การเพิ่มขึ้นของประชากรและการขยายตัวของชุมชนเมือง ในขณะที่ อัตราการเกิดขยะมูลฝอยต่อคน ประมาณ 1.13 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ลดลงจาก พ.ศ. 2559 ซึ่งมีปริมาณ 1.14 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ทั้งนี้ เป็นขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ประมาณ 4.86 ล้านตัน คิดเป็น ร้อยละ 18 และในพื้นที่ 76 จังหวัด ประมาณ 22.51 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 82 เมื่อพิจารณาในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2551-2560) พบว่า ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นต่อวันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จังหวัดปัตตานี มีปริมาณขยะมูลฝอยรวมประมาณ630 ตันต่อวัน โดยเป็นขยะมูลฝอยจากเทศบาลประมาณ182 ตันต่อวัน และจากองค์การบริหารส่วนตำบลประมาณ448ตันต่อวันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดปัตตานีที่มีการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยมีจำนวน51แห่ง ปริมาณขยะมูลฝอยที่รวบรวมได้มีประมาณวันละ158 ตัน มีสถานที่กำจัดขยะมูลอย่างถูกหลักสุขาภิบาล จำนวน1แห่ง คือสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองปัตตานีมีขยะมูลฝอยเข้าสู่ระบบประมาณ 63ตันต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 10 ของปริมาณขยะมูลฝอยทั้งหมดที่เกิดขึ้นในจังหวัดปัตตานี ส่วนปริมาณขยะมูลฝอยที่เหลืออีก95 ตันต่อวันมีการนำไปกำจัดอย่างไม่ถูกหลักสุขาภิบาล ตามหลักวิชาการ (สำนักงานเทศบาลเมืองปัตตานี, 2560) จังหวัดปัตตานีได้วิเคราะห์ประเด็นปัญหาและความต้องการในพื้นที่ โดยแยกแต่ละอำเภอ ประกอบด้วย12อำเภอ โดยพบว่า อำเภอยะรัง ประเด็นปัญหา ความต้องการและแนวทางการแก้ไข ประกอบด้วย 1) ความมั่นคง ความสงบเรียบร้อยในพื้นที่ และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2)ด้านสังคม 3) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 4) ด้านเศรษฐกิจและสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี และ 5) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในปี2558รัฐบาลไทยได้ตรวจสอบเพื่อปรับปรุงสถานที่กำจัดขยะขององค์กรปกครองท้องถิ่นทั่วประเทศ 7,777 แห่ง พบว่ามีเพียง328 แห่งหรือไม่ถึง ร้อยละ 5ของสถานที่กำจัดทั้งหมดเท่านั้นที่สามารถนำขยะไปใช้ประโยชน์และกำจัดได้อย่างถูกต้องปริมาณขยะที่ถูกกำจัดอย่างถูกต้องจากสถานที่เหล่านี้คิดเป็นร้อยละ26.34 ของปริมาณขยะเกิดใหม่รวมกับขยะตกค้างทั้งหมด และขยะที่เหลือกว่าร้อยละ73.26 นั้นถูกกำจัดด้วยวิธีที่ไม่ถูกต้อง เกิดสภาพเทกอง เผากลางแจ้ง เผาในเตาที่ไม่มีระบบกำจัดมลพิษทางอากาศ และฝั่งกลบแบบเทกองควบคุม หรือไม่ถูกกำจัดเลย อุปสรรค์ของการกำจัดขยะให้ถูกวิธี เช่น งบประมาณในการทำสถานที่กำจัดขยะแบบถูกต้องมีค่าใช้จ่ายสูง มีขั้นตอนและเกี่ยวข้องกับคนหลายฝ่าย ทั้งในแง่ของการมาตรฐานการกำจัด และการขออนุญาตให้ถูกต้อง การหาพื้นที่ที่เหมาะสม การเตรียมพื้นที่ การดูแลผลกระทบที่เกิดขึ้นจากขยะและคนในชุมชนใกล้เคียง3 จุดคุ้มทุนของการลงทุนระบบเนื่องจาก เตาเผาขยะ มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง หากแต่บางที่เปิดไปสักพักต้องปิด เพราะไม่มีจำนวนขยะ “ดี” เพียงพอเอามาเปลี่ยนเป็นพลังงานหรือไฟฟ้า เป็นต้น (รายงานสถานการณ์ขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย กรมควบคุมมลพิษ, 2559) ปัญหาขยะมูลฝอย หมายถึง ขยะทั่วไปที่เกิดจากการอุปโภค บริโภค กิจกรรมทั้งหลายของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นบ้านเรือน ชุมชน ตลาด ร้านค้า และโรงงานในประเทศไทยถือเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่เกิดขึ้นจากมือมนุษย์ ซึ่งมีปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกันในหลายแง่มุม ไม่ว่าจะเป็น พฤติกรรมการบริโภคและการแยกขยะจากต้นทาง การจัดการขยะที่ไม่ได้มาตรฐานก่อให้เกิดมลพิษและไม่เกิดการนำกลับไปใช้ซ้ำ ปัญหามลพิษและไม่เกิดการนำกลับมาใช้ซ้ำ ปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อม เช่น ปฏิกิริยาเรือนกระจกที่มีสาเหตุจาก ขยะเทกอง ที่ปล่อยก๊าซมีเทน ซัลเฟอร์กับคาร์บอนไดออกไซต์ออกมา ปัญหาขยะทะเลที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและชีวิตความเป็นอยู่ของสัตว์ในทะเล เป็นต้น จากสถานการณ์ปัญหาขยะที่เกิดขึ้นจะเห็นได้ว่า จุดเริ่มต้นของปัญหา คือ การขาดความรู้ ทักษะในการจัดการขยะที่ถูกต้อง ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากแต่ละครัวเรือน ในการนี้ทางชุมชนได้เล็งถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จึงจัดทำโครงการการจัดการขยพชุมชนบ้านยือแร ขึ้นเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเขา้ใจในเรื่องของการจัดากรขยะชุมชน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีแนวทางการจัดการขยะที่ถูกต้องตามหลัก และเพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะชุมชน
  2. เพื่อให้ผู้ข้าร่วมอบรมมีแนวทางการจัดการขยะที่ถูกต้องตามหลัก 3Rs
  3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ที่่ได้ไปใช้ในเกิดประโยชน์ต้อชุมชนและสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การจัดการขยะบ้านยือแร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการขยะ
  2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะชุมชน
  3. เกิดชุมชนต้นแบบ (ยือแรชุมชนปลอดถังขยะ)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ข้าร่วมอบรมมีแนวทางการจัดการขยะที่ถูกต้องตามหลัก 3Rs
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ที่่ได้ไปใช้ในเกิดประโยชน์ต้อชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะชุมชน (2) เพื่อให้ผู้ข้าร่วมอบรมมีแนวทางการจัดการขยะที่ถูกต้องตามหลัก 3Rs (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ที่่ได้ไปใช้ในเกิดประโยชน์ต้อชุมชนและสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดการขยะบ้านยือแร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการขยะชุมชนบ้านยือแร จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3032-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมุตาดี เจ๊ะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด