กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด


“ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาท พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ”

ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ว่าที่ ร.ต.อนรรฆ อิสเฮาะ

ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาท พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

ที่อยู่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2564 ถึง 11 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาท พระบรมราชชนนีพันปีหลวง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาท พระบรมราชชนนีพันปีหลวง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาท พระบรมราชชนนีพันปีหลวง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปุยด อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2564 - 11 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,303.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุยุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายรัฐบาลปัจจุบันภายใต้การนำของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 ข้อ 8 ของนโยบายหลัก 12 ด้าน กำหนดให้มีการพัฒนาคนไทยให้มีความพร้อมในการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เพื่อให้คนไทยในอนาคตเป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศให้ก้าวไปข้างหนิอย่างมีแบบแผนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือทุนมนุษย์(Human capital) จะส่งผลต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยให้บรรลุ “ประเทศไทย 4.0” ดังนั้นการพัฒนาคนไทยให้สอดรับกับนิยามของคนไทยในศตวรรษที่ 21 เป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง การพัฒนาคนไทยเพื่อให้ได้คนไทย 4.0 ที่มีสติปัญญาดี มีทักษะสูง มีสุขภาพแข็งแรง และมีจิตใจที่งดงาม ต้องเริ่มตั้งแต่การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์จนถึงการคลอด และเติบโตต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพจนอายุ 2 ปีบริบูรณ์ 1000 วันแรกของการดูแลอย่างเอาใจใส่และทุ่มเทของมารดา ครอบครัวและชุมชนตั้งแต่ในช่วงการตั้งครรภ์ (270 วัน) จนถึงอายุ 2 ขวบ (730วัน) จะเป็นตัวกำหนดสำคัญตัวหนึ่ง ที่จะบอกถึงขีดความสามารถ สติปัญญา ศักยภาพและความสำเร็จของลูกในอนาคต     จากสถานการณ์ในปี 2563 จำนวนหญิงตั้งครรภ์ตำบลปูยุด จำนวน 138 ราย มีภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 35 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.36) การมีภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ส่งผลทำให้ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม คิดเป็นร้อยละ 12.90 เกิดการแท้งบุตร และคลอดก่อนกำหนด ได้ ทางกองสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปูยุด ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในช่วง 1,000 วันแรกของชีวิต จึงจัดทำโครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาท พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ปี 2564 เพื่อพัฒนาระบบการดูแลสตรีตั้งครรภ์ ให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัว ชุมชน และสังคม มีความตระหนักการดูแลสตรีตั้งครรภ์ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
  2. เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์สามารถลดปัจจัยเสี่ยงของภาวะโลหิตจาง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 3.ผู้ดูแลมีการเยี่ยมบ้านเพื่อควบคุม กำกับ ส่งเสริมการรับประทานอาหาร และยา
  2. 1.ประชุมจัดทำแผนการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง (Care plan) และอบรมการใช้เครื่องมือติดตาม แก่ผู้ดูแล
  3. 2.ส่งเสริมการรับประทานนม ไข่ แก่หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง จำนวน 150 วัน/ราย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีตั้งครรภ์มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
  2. สตรีตั้งครรภ์สามารถลดปัจจัยเสี่ยงของภาวะโลหิตจาง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
ตัวชี้วัด : -ทารกแรกเกิดน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม คิดเป็น 95% -คลอดก่อนกำหนด คิดเป็น 95% -ไม่มีการแท้งบุตร
0.00

 

2 เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์สามารถลดปัจจัยเสี่ยงของภาวะโลหิตจาง
ตัวชี้วัด : ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ลดลง 10%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา (2) เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์สามารถลดปัจจัยเสี่ยงของภาวะโลหิตจาง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.ผู้ดูแลมีการเยี่ยมบ้านเพื่อควบคุม กำกับ ส่งเสริมการรับประทานอาหาร และยา (2) 1.ประชุมจัดทำแผนการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง (Care plan) และอบรมการใช้เครื่องมือติดตาม แก่ผู้ดูแล (3) 2.ส่งเสริมการรับประทานนม ไข่ แก่หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง จำนวน 150 วัน/ราย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกแห่งชีวิต เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาท พระบรมราชชนนีพันปีหลวง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ว่าที่ ร.ต.อนรรฆ อิสเฮาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด