กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการกลุ่มสตรีลางา 30-60 ปี ปลอดภัยห่างไกลจากมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกภายใน ปี 2567 (5ปี)ประจำปี 2564 (ปีที่2)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลางา
วันที่อนุมัติ 1 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 57,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฟาฏีลาห์ ปอโต๊ะซิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุรา , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม(คน)
300.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมากโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยจากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2546(สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) พบว่าอัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นและโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทยได้แก่มะเร็งตับมะเร็งปอดมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตามลำดับสำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) นอกจากนี้ยังพบว่า การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำPapsmearหรือVIA (VisualInspectionofcervixwithAceticacid)ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปและสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (Cryotherapy)
ในพื้นที่ตำบลลางาหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ 30 – 60 ปี มีจำนวน 1,126 คน ซึ่งทุกคนต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5ปี ครบ100%(เริ่มตั้งแต่ปีงบประมาณ2563 - 2567) โดยตั้งเป้าหมายให้มีการตรวจคัดกรอง ฯ ในแต่ละปีไม่ต่ำกว่าร้อยละ20 คิดเป็น 300 รายต่อปี จำนวนหญิงวัยเจริญพันธ์ที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปีที่ 1 คือ ปีงบประมาณ 2563 คิดเป็น ร้อยละ 27.83
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 57,250.00 0 0.00
1 - 31 มี.ค. 64 กิจกรรมที่ 1 สร้างเครือข่ายสุขภาพและทำความเข้าใจ 0 1,250.00 -
1 มี.ค. 64 - 30 มิ.ย. 64 กิจกรรมที่ 2 จัดเวทีเสวนาสร้างความตระหนักในการดูแลกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์ 30-60 ปี 0 7,500.00 -
1 พ.ค. 64 - 30 ก.ย. 64 กิจกรรมที่ 4 ดำเนินการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์ อายุ 30-60ปี 0 48,500.00 -
1 - 30 ก.ค. 64 กิจกรรมที่ 3 ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในพื้นที่ 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
1.กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์ 30 -60 ปี มีความรู้ มีความตระหนัก ในการดูแลสุขภาพตนเอง 2.มีเครือข่ายในการดูแลติดตามกลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์ 30 -60 ปี ที่เข้มแข็ง 3.กลุ่มหญิงวัยเจริญพันธ์ 30 -60 ปี ห่างไกลจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2564 11:03 น.