กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน ”

ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรุณี ศรีทองช่วย

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1515- 02 –04 เลขที่ข้อตกลง 014/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1515- 02 –04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,450.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าและมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต การพัฒนาเด็กให้ได้รับความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงนับเป็นภารกิจสำคัญของโรงเรียนที่จะต้องตระหนัก และให้ความสำคัญ เพื่อให้การพัฒนาเด็กเป็นไปอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานเหมาะสมกับวัย พร้อมที่จะเปิดกว้างในการรับรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ดี การพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียนจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการดูแลสุขภาพของเด็กในวัยเรียน โดยโรงเรียนจะต้องดำเนินการให้ความรู้ แนวปฏิบัติ เสริมสร้าง และแนวทางแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ ให้นักเรียนรู้จักดูแลสุขภาพ รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ รู้จักออกกำลังกาย เพื่อสร้างให้ร่างกายแข็งแรงมีพลานามัยสมบูรณ์ และรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้เจ็บป่วย และมีสุขภาพจิตที่ดี ซึ่งการที่ผู้เรียนมีสุขภาพที่ดีและสุขภาพจิตที่ดีจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างสูงสุด
ในปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านหนองบัวน้อยได้ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน โดย เปรียบเทียบตามเกณฑ์ของกรมอนามัยตามเกณฑ์อายุและเพศของนักเรียนปรากฏว่า มีนักเรียนที่มีปัญหา ภาวะทุพโภชนาการ และนักเรียนที่มีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการส่งเสริมด้านโภชนาการให้กับนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ และส่งเสริมให้นักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการเกินเกณฑ์ได้ออกกำลังกาย อันเป็นการส่งเสริมพัฒนาทางด้านร่างกายให้แก่นักเรียนให้ได้รับการพัฒนาตนตามมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้เก่ง ดี มีความสุขทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และสติปัญญาต่อไป
โรงเรียนบ้านหนองบัวน้อยจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนขึ้น เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของกรมอนามัย อันเป็นรากฐานที่จะทำให้นักเรียนมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดีพร้อมที่จะเปิดกว้างเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของ กรมอนามัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมดื่มนมเพื่อสุขภาพ ห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ
  2. กิจกรรมสูงดีสมส่วนได้ด้วยกีฬาเพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสูงดีสมส่วนได้ด้วยกีฬาเพื่อสุขภาพ

วันที่ 10 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการ (P) 1.1 ศึกษาผลการดำเนินโครงการในปีที่ผ่านมา 1.2 ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ 1.3 ประชุมวางแผนจัดทำโครงการ และเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ขั้นดำเนินการ (D) 2.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการ และมอบหมายภาระงาน 2.2 ดำเนินงานตามโครงการดังนี้ 2.2.1 กิจกรรมดื่มนมเพื่อสุขภาพ ห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ
    1) ชั่งน้ำหนัก – วัดส่วนสูงของนักเรียนทุกเดือน 2) นำข้อมูลน้ำหนัก – ส่วนสูงของนักเรียนมาวิเคราะห์เปรียบเทียบตามเกณฑ์ของ กรมอนามัย 3) จัดซื้ออาหารเสริมนมให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนัก – ส่วนสูงต่ำ กว่าเกณฑ์และนักเรียนที่มีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ 4) จัดกิจกรรมออกกำลังกายตอนเช้าทุกวันจันทร์  พุธและศุกร์


    2.2.2 กิจกรรมสูงดีสมส่วนได้ด้วยกีฬาเพื่อสุขภาพ 1) จัดตั้งชุมนุมกีฬาเพื่อสุขภาพ 2) จัดซื้ออุปกรณ์สำหรับเล่นกีฬาและออกกำลังกาย 3) ดำเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของชุมนุม

  3. ขั้นนิเทศติดตามผล (C) 3.1 ผู้รับผิดชอบโครงการนิเทศติดตามผลการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนิน       กิจกรรมให้เป็นไปตามภาระงาน
  4. ขั้นประเมินผลและรายงานผล (A) 4.1 ประเมินโครงการ 4.2 สรุปผลการดำเนินโครงการ และจัดทำรายงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงเรียนได้ดำเนินโครงการโดยปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสม ซึ่งโรงเรียนได้จัดตั้งชุมนุมกีฬาเพื่อสุขภาพ และจัดซื้ออุปกรณ์สำหรับเล่นกีฬาและออกกำลังกายเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเปิดภาคเรียน

 

115 0

2. กิจกรรมดื่มนมเพื่อสุขภาพ ห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ

วันที่ 10 มิถุนายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการ (P) 1.1 ศึกษาผลการดำเนินโครงการในปีที่ผ่านมา 1.2 ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ 1.3 ประชุมวางแผนจัดทำโครงการ และเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ขั้นดำเนินการ (D) 2.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการ และมอบหมายภาระงาน 2.2 ดำเนินงานตามโครงการดังนี้ 2.2.1 กิจกรรมดื่มนมเพื่อสุขภาพ ห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ
    1) ชั่งน้ำหนัก – วัดส่วนสูงของนักเรียนทุกเดือน 2) นำข้อมูลน้ำหนัก – ส่วนสูงของนักเรียนมาวิเคราะห์เปรียบเทียบตามเกณฑ์ของ กรมอนามัย 3) จัดซื้ออาหารเสริมนมให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนัก – ส่วนสูงต่ำ กว่าเกณฑ์และนักเรียนที่มีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ 4) จัดกิจกรรมออกกำลังกายตอนเช้าทุกวันจันทร์  พุธและศุกร์


    2.2.2 กิจกรรมสูงดีสมส่วนได้ด้วยกีฬาเพื่อสุขภาพ 1) จัดตั้งชุมนุมกีฬาเพื่อสุขภาพ 2) จัดซื้ออุปกรณ์สำหรับเล่นกีฬาและออกกำลังกาย 3) ดำเนินกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของชุมนุม

  3. ขั้นนิเทศติดตามผล (C) 3.1 ผู้รับผิดชอบโครงการนิเทศติดตามผลการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนิน       กิจกรรมให้เป็นไปตามภาระงาน
  4. ขั้นประเมินผลและรายงานผล (A) 4.1 ประเมินโครงการ 4.2 สรุปผลการดำเนินโครงการ และจัดทำรายงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่ได้จัดกิจกรรม และคืนงบประมาณให้กองทุนฯ

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของ กรมอนามัย
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะ โภชนาการตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของ    กรมอนามัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมดื่มนมเพื่อสุขภาพ ห่างไกลภาวะทุพโภชนาการ (2) กิจกรรมสูงดีสมส่วนได้ด้วยกีฬาเพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1515- 02 –04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรุณี ศรีทองช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด