โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564 ”
จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นาย นิอาดิ แวอาลี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2564
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564
ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-l2479-1-19 เลขที่ข้อตกลง 42/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-l2479-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โรคข้อเข่าเสื่อมนี้เกิดจากการเสื่อมตามอายุขัยส่วนใหญ่ เกิดกับข้อใหญ่ๆ เช่น ข้อสะโพก ข้อเข่าและข้อกระดูกสันหลัง ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม โรคจะดำเนินไปเรื่อยๆ อาจทำให้มีความเจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ ก็ทำได้ไม่สะดวก จะมีความทุกข์ทรมานทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ หากผู้สูงอายุมีความรู้ จะสามารถดูแลตนเองเพื่อชะลอความเสื่อมหรือบรรเทาอาการปวดของข้อเข่าเสื่อม ก็จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว
ประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต มีจำนวน 6,816 คน มีผู้สูงอายุ จำนวน 687 คน คิดเป็นร้อยละ 10.07 ของจำนวนประชากรทั้งหมด เมื่อเทียบสัดส่วนถือว่ามีจำนวนมาก และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ จากข้อมูลการคัดกรองผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่า มีจำนวน 155 คน คิดเป็นร้อยละ 22.56 (ข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต) จึงควรเร่งส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มสูงอายุมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันตนเองจากโรคข้อเข่าเสื่อม
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมและภาวะแทรกซ้อน รวมถึงการดูแล ส่งเสริมและป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคข้อเข่าเสื่อม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตนเองอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ ๑ *การตรวจคัดกรองประเมินสุขภาพ เบื้องต้น ได้แก่ วัดความดัน ชังน้ำหนัก วัดรอบเอว
- กิจกรรมที่ ๒ *จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่า เสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแล ตนเอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
75
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตนเองอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข
- ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม
- ผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และทำกิจกรรมร่วมกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ ๑ *การตรวจคัดกรองประเมินสุขภาพ เบื้องต้น ได้แก่ วัดความดัน ชังน้ำหนัก วัดรอบเอว
วันที่ 14 มกราคม 2565กิจกรรมที่ทำ
ตรวจคัดกรองประเมิณสุขภาพ ได้แก่ วัดความดัน และชั่งน้ำหนัก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ทราบถึงผลลัพท์ ของผลตรวจคัดกรอง ประเมิณสุขภาพเบื้องต้น ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย
0
0
2. กิจกรรมที่ ๒ *จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่า เสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแล ตนเอง
วันที่ 14 มกราคม 2565กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่า เสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแล ตนเอง
*ค่าอาหารว่าง ๗๕ คนx๒๕บาทx๒มื้อ๓,๗๕๐
*ค่าอาหารกลางวัน ๗๕ คนx๖๐ บาท ๔,๕๐๐
*ค่าวิทยากร ๑ คนx๕ชม.x๖๐๐บาท ๓,๐๐๐
*ค่าไวนิล ๑.๒x๒ เมตร ๖๐๐
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตนเองในสังคมได้ อย่างเป็นสุข
- ผู้สูงอายุ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม
- ผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์และทำกิจกรรม ร่วมกัน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตนเองอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกัน
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ
- ผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมและภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 80
เชิงคุณภาพ
- ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่า ลดลงร้อยละ 10
22.56
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
75
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
75
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตนเองอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ *การตรวจคัดกรองประเมินสุขภาพ เบื้องต้น ได้แก่ วัดความดัน ชังน้ำหนัก วัดรอบเอว (2) กิจกรรมที่ ๒ *จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่า เสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแล ตนเอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-l2479-1-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นาย นิอาดิ แวอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564 ”
จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นาย นิอาดิ แวอาลี
กันยายน 2564
ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-l2479-1-19 เลขที่ข้อตกลง 42/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-l2479-1-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โรคข้อเข่าเสื่อมนี้เกิดจากการเสื่อมตามอายุขัยส่วนใหญ่ เกิดกับข้อใหญ่ๆ เช่น ข้อสะโพก ข้อเข่าและข้อกระดูกสันหลัง ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก ถ้าไม่ได้รับการรักษาหรือปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสม โรคจะดำเนินไปเรื่อยๆ อาจทำให้มีความเจ็บปวด ข้อเข่าผิดรูป เดินได้ไม่ปกติ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ ก็ทำได้ไม่สะดวก จะมีความทุกข์ทรมานทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ หากผู้สูงอายุมีความรู้ จะสามารถดูแลตนเองเพื่อชะลอความเสื่อมหรือบรรเทาอาการปวดของข้อเข่าเสื่อม ก็จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว
ประชากรในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต มีจำนวน 6,816 คน มีผู้สูงอายุ จำนวน 687 คน คิดเป็นร้อยละ 10.07 ของจำนวนประชากรทั้งหมด เมื่อเทียบสัดส่วนถือว่ามีจำนวนมาก และมีแนวโน้มจะสูงขึ้นเรื่อยๆ จากข้อมูลการคัดกรองผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่า มีจำนวน 155 คน คิดเป็นร้อยละ 22.56 (ข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต) จึงควรเร่งส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มสูงอายุมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันตนเองจากโรคข้อเข่าเสื่อม
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบูกิต จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมและภาวะแทรกซ้อน รวมถึงการดูแล ส่งเสริมและป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคข้อเข่าเสื่อม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตนเองอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ ๑ *การตรวจคัดกรองประเมินสุขภาพ เบื้องต้น ได้แก่ วัดความดัน ชังน้ำหนัก วัดรอบเอว
- กิจกรรมที่ ๒ *จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่า เสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแล ตนเอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 75 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตนเองอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข
- ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม
- ผู้สูงอายุได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และทำกิจกรรมร่วมกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ ๑ *การตรวจคัดกรองประเมินสุขภาพ เบื้องต้น ได้แก่ วัดความดัน ชังน้ำหนัก วัดรอบเอว |
||
วันที่ 14 มกราคม 2565กิจกรรมที่ทำตรวจคัดกรองประเมิณสุขภาพ ได้แก่ วัดความดัน และชั่งน้ำหนัก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ทราบถึงผลลัพท์ ของผลตรวจคัดกรอง ประเมิณสุขภาพเบื้องต้น ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมที่ ๒ *จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่า เสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแล ตนเอง |
||
วันที่ 14 มกราคม 2565กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่า เสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแล ตนเอง *ค่าอาหารว่าง ๗๕ คนx๒๕บาทx๒มื้อ๓,๗๕๐ *ค่าอาหารกลางวัน ๗๕ คนx๖๐ บาท ๔,๕๐๐ *ค่าวิทยากร ๑ คนx๕ชม.x๖๐๐บาท ๓,๐๐๐ *ค่าไวนิล ๑.๒x๒ เมตร ๖๐๐ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตนเองอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกัน ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ - ผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมและภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ - ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่า ลดลงร้อยละ 10 |
22.56 | 50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 75 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 75 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อน และสามารถดูแลตนเองอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ๒. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม ๓. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ *การตรวจคัดกรองประเมินสุขภาพ เบื้องต้น ได้แก่ วัดความดัน ชังน้ำหนัก วัดรอบเอว (2) กิจกรรมที่ ๒ *จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่า เสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแล ตนเอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ใส่ใจดูแลข้อเข่า ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-l2479-1-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นาย นิอาดิ แวอาลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......