กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพการใช้โทรศัพท์มือถือ
รหัสโครงการ 64-L2479-2-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนสร้างความเข้มแข็งบ้านกูเว หมู่ที่4 ตำบลบูกิต
วันที่อนุมัติ 23 มีนาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 13,875.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายแวอาลี วาเต๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)
50.00
2 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสภาพการดำเนินชีวิตภายของประชาชนชุมชนในปัจจุบัน เห็นว่าเทคโลโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยีกับการใช้โทรศัพท์มือถือ ทุกคน ทุกครัวเรื่อนมีการใช้งานกัน แต่ด้วยสภาพกับการใช้งานของเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือนั้น ร้อยละ 70-80 เปอร์เซ็นสนใจแต่มองหน้าจอโทรศัพท์โดยไม่ห่วงที่จะหันมาดูแลสุขภาพของต้นเอง และการดูแลใส่ใจคนในครอบครัว ไม่สามารถที่จะสร้างเข้าใจแยกแยะข้อดี และขอเสียที่อาจเกิด และได้รับผลกระทบจากการใช้โทรศพท์เป็นเวลานาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่อยู่ในช่วงวัยเรียน พ่อแม่ไม่ค่อยจะเอาใส่ใจ ไม่ค่อยอบรมถึงข้อดี ขอเสียปล่อยปะละเลยเพื่อให้ต้นเองนั้นไม่เกิดความรำคาญการเอาแต่ใจของลูก ซึ่งจะเห็นได้ว่าปัจจุบันการใช้โทรศัพท์มันทำลายชีวิตโดยไม่รู็สึกตัว เช่น ไม่สนใจในการออกกำลังกาย ขาดการพบปะ พูดคุยอย่างสร้างสรรค์ ไม่สนใจเพื่อฟูน ก้าวร้าวต่อพอแม่ ปวดสายตา สายตาสั้น เป็นต้น ด้วยเหตุผลนี้กรรมการกองทุนฯได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึ้งได้จัดโครงการ ส่งเสริมและการป้องกันสุขภาพการใช้โทรศัพท์มือถือ นี้ขึ้น เพื่อที่จะส่งเสริมสนับสนุนให้ความรู้ ความเข้าใจ และเพิ่มความสามรถในการป้องกัน ดูแลสุขภาพอนามัยกับการใช้โทรศัพท์มือถือ ให้กับเด็กและผู้ปกครองบ้านกูเว หมู่ที่ 4 ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

50.00 70.00
2 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

50.00 80.00
3 ส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจและเพิ่มความสามรถในการป้องกันดูแลสุขภาพอนามัยกับการใช้'โทรศัพท์มือถือ

ร้อยละของเด็กและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและเพิ่มความสามรถในการป้องกันดูแลสุขภาพอนามัยกับการใช้'โทรศัพท์มือถือ

60.00 80.00
4 เพื่อส่งเสริมการลดจำนวนเวลากับการใช้โทรศัพท์มือถือบุคคลที่อยู่ในภาวะเสี่ยง

ร้อยละของเด็กสามารถลดจำนวนเวลากับการใช้โทรศัพท์มือถือได้

60.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : ส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจและเพิ่มความสามรถในการป้องกันดูแลสุขภาพอนามัยกับการใช้'โทรศัพท์มือถือ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : เพื่อส่งเสริมการลดจำนวนเวลากับการใช้โทรศัพท์มือถือบุคคลที่อยู่ในภาวะเสี่ยง

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

1 มี.ค. 64 - 11 มิ.ย. 64 กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ประสานงาน และจัดประชุม 0.00 -
12 มิ.ย. 64 - 30 ก.ย. 64 การอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และการสื่อสาร 13,875.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและเพิ่มความสามรถในการป้องกันดูแลสุขภาพอนามัยกับการใช้'โทรศัพท์มือถือได้มากขึ้น 2.สามารถลดจำนวนเวลากับการใช้โทรศัพท์มือถือบุคคลที่อยู่ในภาวะเสี่ยง
3.สนับสนุนให้เกิดและเห็นความความสำคัญในการออกกำลังกายมากขึ้น 4.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจถึงข้อดี ขอเสียเกี่ยวกับการใช้โทรศัพท์มือถือมากขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 ก.พ. 2564 06:53 น.