กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง


“ ชุมชนบ้านกาตองร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม ”

ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาตอง

ชื่อโครงการ ชุมชนบ้านกาตองร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม

ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2560L414502 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนบ้านกาตองร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนบ้านกาตองร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนบ้านกาตองร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2560L414502 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,725.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน พบว่ามีความซับซ้อนมากขึ้น ตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมเศรษฐกิจความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและแบบแผนการดำเนินชีวิตส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ซึ่งโรคติดต่อบางอย่างเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ของบุคคล เช่น การบริโภคที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและการจัดการกับความเครียด สิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อ โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคไม่ติดต่อที่เรื้อรัง หากไม่ได้รับการดูแลรักษาสุขภาพอย่างต่อเนื่องในระยะแรกอาจจะไม่แสดงอาการของโรคให้เห็นทำให้ผู้ป่วยเกิดการละเลยได้ ไม่สนใจในการดูแลรักษาสุขภาพตนเอง อาจทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนซึ่งไม่สามารถแก้ไขหรือรักษาให้หายขาดได้ และมักจะนำไปสู่ความทุกข์และภาวะทุพลภาพ พิการหรืออาจจะรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต มักจะเกิดความผิดปกติของอวัยวะที่สำคัญเช่น หัวใจ ตา สมอง ไต ระบบประสาท โรคเหล่านี้จะเป็นภาวะเสี่ยงในกลุ่มประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ซึ่งจะเป็นกลุ่มวัยผู้ใหญ่และกลุ่มผู้สูงอายุเป็นส่วนมากซึ่งระบบการทำงานของร่างกายเริ่มมีความเสื่อมสภาพลงเสี่ยงต่อ การเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ง่าย แต่โรคดังกล่าวสามารถควบคุมได้โดยการตรวจคัดกรองเบื้องต้นและการตรวจสุขภาพและการควบคุมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และรักษาอย่างต่อเน่องรวมทั้งการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและเหมาะสม เป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดเป็นนโยบายและยุทธศาสตร์ในการควบคุมป้องกันโรคไม่ติดต่อ ดังคำขวัญที่ว่า “ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและสามารถพึ่งตนเองด้านสุขภาพได้” มุ่งเน้นการสร้างสุขภาพแบบเชิงรุกโดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในชุมชน สนับสนุนก่อให้เกิดการสร้างสุขภาพมากขึ้นโดยเน้นให้ชุมชนได้ตระหนักและใส่ใจสุขภาพร่วมกันดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน เพื่อให้เกิดการมีสุขภาพดีของคนชุมชนทั้งทางกาย จิต สังคม และวิญญาณ ไม่เป็นโรคหรือป้องกันได้ จากสถานการณ์ของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาตองอำเภอยะหาจังหวัดยะลา ในปีงบประมาณ 2559ประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 15ขึ้นไป ทั้งหมด 2,794 คนได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานทั้งหมด2,706 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.85 % ที่ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน113รายโรคเบาหวาน 14 ราย รวมผู้ป่วยเป็นทั้งความดันและเบาหวานจำนวน 34 รายไม่มีผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน จากจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานทั้งหมด 161 คน พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานมารับยาอย่างต่อเนื่องจำนวน 154 คนคิดเป็นร้อยละ 95. ซึ่งโรคไม่ติดต่อเหล่านี้มีอัตราการป่วยที่ค่อนข้างสูง เมื่อคัดกรองโรคจำนวนมากขึ้นทำให้พบผู้ป่วยเพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งสาเหตุการเกิดส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมขาดการออกกำลังกายจะพบมากในกลุ่มอายุ 35ปีขึ้นไปส่วนน้อยที่เกิดจากกรรมพันธุ์ซึ่งโรคไม่ติดต่อเหล่านี้สามารถป้องกันได้หากมีการค้นพบผู้ป่วยได้เร็วและได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที และมีความรู้ในการดูแลตนเองอย่าง ถูกต้องเหมาะสม

ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาตองอำเภอยะหาจังหวัดยะลาได้ตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นตามมา หากกลุ่มต่างๆมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องอาจส่งผลต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆตามมา ตลอดจนเกิดโรคอัมพฤกษ์อัมพาตได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. . ร้อยละ 90 ของแกนนำสุขภาพเป้าหมายได้รับการอบรมและมีทักษะความรู้ในการคัดกรอง HT/DM ที่ถูกต้อง 2. ประชาชนชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ร้อยละ 60 3. ประชาชนชนกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ร้อยละ 60

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 127
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ทุกองค์กรในชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา และตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
    2.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถติดตามดูแลผู้ป่วยได้อย่างครอบคลุมและมีคุณภาพ
    3.ผู้ป่วยและญาติได้รับความสะดวกและมีความพึงพอใจในการเข้ารับบริการจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาตอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ทุกองค์กรในชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา และตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
    2.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถติดตามดูแลผู้ป่วยได้อย่างครอบคลุมและมีคุณภาพ
    3.ผู้ป่วยและญาติได้รับความสะดวกและมีความพึงพอใจในการเข้ารับบริการจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาตอง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 . ร้อยละ 90 ของแกนนำสุขภาพเป้าหมายได้รับการอบรมและมีทักษะความรู้ในการคัดกรอง HT/DM ที่ถูกต้อง 2. ประชาชนชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ร้อยละ 60 3. ประชาชนชนกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ร้อยละ 60
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 157
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 127
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . ร้อยละ 90 ของแกนนำสุขภาพเป้าหมายได้รับการอบรมและมีทักษะความรู้ในการคัดกรอง HT/DM ที่ถูกต้อง 2. ประชาชนชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ร้อยละ 60
    3. ประชาชนชนกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ร้อยละ 60

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ชุมชนบ้านกาตองร่วมใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดหวาน มัน เค็ม จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 2560L414502

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาตอง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด