กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคไข้เลือดออกสำหรับประชาชน ปีงบประมาณ 2564 ”

จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอุสมาน อาแว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคไข้เลือดออกสำหรับประชาชน ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-l2479-1-03 เลขที่ข้อตกลง 26/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคไข้เลือดออกสำหรับประชาชน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคไข้เลือดออกสำหรับประชาชน ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคไข้เลือดออกสำหรับประชาชน ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-l2479-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2563 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ปัจจุบันการเกิดโรคไข้เลือดออกมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างน่าวิตก วิธีการป้องกันและควบคุมโรคที่ดีที่สุดในขณะนี้ คือ การกำจัดยุงลายและลูกน้ำยุงลายในแหล่งเพาะพันธุ์ยุงต่างๆ เนื่องจาก ยุงลายออกหากินในเวลากลางวัน ซึ่งเป็นเวลาที่เด็กส่วนใหญ่อยู่ในโรงเรียน ถ้าโรงเรียนมีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายจะทำให้การระบาดของ โรคนี้ เป็นไปอย่างกว้างขวาง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก มีเจคติที่จะกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และมีการปฏิบัติอย่างจริงจังจะเป็นการปฏิบัติวิธีหนึ่งที่ช่วยป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างได้ผลในแต่ละปีมีเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่จำนวนมากป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก และหลายรายถึงกับเสียชีวิต สร้างความเศร้าโสกเสียใจให้กับ ครอบครัว รวมทั้งก่อให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรบุคลากรของประเทศทั้งๆ ที่โรคไข้เลือดอออกเป็นโรคที่ป้องกันได้ หากทุกคนร่วมกัน ดูแลกำจัดลูกน้ำยุงลายให้หมดไปจากบ้านและชุมชน โรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งในการสอนให้นักเรียนสามารถเป็นผู้สามารถป้องกันตนเองครอบครัว และผู้อื่นให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกได้ดังนั้น การจัดการเรียนรู้เรื่องการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกแก่เยาวชน ในครั้งนี้จึงเป็นการขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อให้เยาวชนในสถานศึกษา และในชุมชน ให้มีความรู้เรื่องการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตียเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก จะเห็นได้ว่าอัตราการป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนพฤษภาคม – มิถุนายนของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดีและนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรคจะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชนวัดมัสยิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออกเกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไขซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชนองค์กรชุมชนตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตียจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมรับมือ“โรคไข้เลือดออก” ก่อนฤดูการระบาดและเพื่อลดความเสี่ยงต่อการโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้แกนนำนักเรียน.มีความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน 3.เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชน 4.เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย 5.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 6.ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน(Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์สำรวจ และกำจัดลูกน้ำยุงลาย
  2. อบรมให้ความรู้แก่นักเรียน แกนนำหรือตัวแทนประจำหมู่บ้าน ในการค้นหาแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการกำจัดแหล่งที่ถูกวิธี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

การเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่นักเรียน แกนนำหรือตัวแทนประจำหมู่บ้าน ในการค้นหาแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการกำจัดแหล่งที่ถูกวิธี

วันที่ 28 ธันวาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 70 คน x 1 มื้อ เป็นเงิน 4,200 บาท
ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม 25 บาท x 70 คน x 2 มื้อ เป็นเงิน 3,500 บาท
ค่าไวนิล ขนาด 1 x 2 เมตร เป็นเงิน 500 บาท
ค่าวิทยากร 600 บาท x 6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บาท ค่าวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 1,400 บาท ดังนี้ สมุด 70 เล่ม x 15 บาท เป็นเงิน 1050 บาท
ปากกา 70 ด้าม x 5 บาท เป็นเงิน 350

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้แกนนำนักเรียน.มีความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน 3.เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชน 4.เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย 5.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 6.ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน(Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0)
ตัวชี้วัด : 1.เด็กนักเรียนมีความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ค้นหาแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการกำจัดแหล่งที่ถูกวิธี ร้อยละ 100 2.แกนนำหรือตัวแทนประจำหมู่บ้านมีความรู้ในเรื่องการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ค้นหาแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการกำจัดแหล่งที่ถูกวิธีร้อยละ 100
2.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้แกนนำนักเรียน.มีความรู้เรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2.เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน 3.เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชน 4.เพื่อลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย 5.เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 6.ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน(Container Index=0) และบริเวณบ้าน  (House Index=0)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์สำรวจ และกำจัดลูกน้ำยุงลาย (2) อบรมให้ความรู้แก่นักเรียน แกนนำหรือตัวแทนประจำหมู่บ้าน ในการค้นหาแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และการกำจัดแหล่งที่ถูกวิธี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมและการป้องกันโรคไข้เลือดออกสำหรับประชาชน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-l2479-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอุสมาน อาแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด