กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองมาบตาพุด


“ ชุมชนร่วมใจส่งเสริมผู้สูงอายุให้สุขภาพดี ”

ชุมชนมาบข่า-สำนักอ้ายงอน เทศบาลเมืองมาบตาพุด ตำบลห้วยโป่ง อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

หัวหน้าโครงการ
1.นายวิเชียร ศักดิ์เจริญ 2.น.ส.อุไร รักดี 3.นางเล็ก ค่าคาม 4.นางบุญศรี แก้วจรัสฉาย 5.นางนภัสนันท์ ล้อตระกูลนุกิจ

ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจส่งเสริมผู้สูงอายุให้สุขภาพดี

ที่อยู่ ชุมชนมาบข่า-สำนักอ้ายงอน เทศบาลเมืองมาบตาพุด ตำบลห้วยโป่ง อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง จังหวัด ระยอง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 3 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนร่วมใจส่งเสริมผู้สูงอายุให้สุขภาพดี จังหวัดระยอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนมาบข่า-สำนักอ้ายงอน เทศบาลเมืองมาบตาพุด ตำบลห้วยโป่ง อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองมาบตาพุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนร่วมใจส่งเสริมผู้สูงอายุให้สุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (4) เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนงานกิจกรรมผู้สูงอายุ กับแกนนำชุมชน ตัวแทนผู้สูงอายุและครอบครัว (2) ประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้สูงอายุและครอบครัวเข้าร่วมโครงการ (3) จัดอบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมชมรมรวม 6 ครั้ง ครั้งละ 30 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
  2. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
  4. เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนงานกิจกรรมผู้สูงอายุ กับแกนนำชุมชน ตัวแทนผู้สูงอายุและครอบครัว
  2. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้สูงอายุและครอบครัวเข้าร่วมโครงการ
  3. จัดอบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมชมรมรวม 6 ครั้ง ครั้งละ 30 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีศักยภาพในการดูแลตนเองและพึ่งพาตนเองได้นานที่สุด 2.เกิดต้นแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยมีชุมชนเป็นฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมชมรมรวม 6 ครั้ง ครั้งละ 30 คน

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมทั้งหมด 6 ครั้ง
1.ประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ 2.ให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 3.ออกกำลังกายด้วยไม้พลอง และยางยืดป้องกันล้ม 4.สุขภาพจิตดีชะลอสมองเสื่อมด้วยสมาธิบำบัด ดนตรีอังกะลุง และทำกิจกรรมกลุ่ม 5.ส่งเสริมประเพณีวัฒนธรรมไทย 6.สมุนไพรใกล้ตัวเพื่อสุขภาพ 7.ดูแลสุขให้ปลอดภัยจากไวรัสโควิด 19 (การใช้ไลน์สื่อสารชมรมอการล้างมือที่ถูกต้อง)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้สูงอายุในชมรมทุกคนได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 2.ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง 3.ผู้สูงอายุสามารถออกกำลังกายด้วยไม้พลองและยางยืดได้ถูกต้อง 4.ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมดนตรีอังกะลุงอย่างต่อเนื่อง 5.ชมรมจัดกิจกรรมวันสงกรานต์ 6.ผู้สูงอายุมีการใช้สมุนไพรในชุมชนมากขึ้น 7.เกิดไลน์กลุ่มในการสื่อสารชมรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

 

180 0

2. ประชุมวางแผนงานกิจกรรมผู้สูงอายุ กับแกนนำชุมชน ตัวแทนผู้สูงอายุและครอบครัว

วันที่ 1 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

มอบหมายงานจัดกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุในแต่ละครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีคณะทำงานในวันจัดกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุ

 

20 0

3. ประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้สูงอายุและครอบครัวเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 2 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้สูงอายุทุกครัวเรือนชุมชนมาบข่า-สำนักอ้ายงอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้สูงอายุสมัครใจเข้าร่วมชมรมผู้สูงอายุชุมชนมาบข่า-สำนักอ้ายงอน

 

180 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

บรรลุบางส่วนเนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 จึงได้จัดกิจกรรมโครงการไป 6 ครั้ง จาก 12 ครั้ง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น
80.00 70.00 70.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
2.00 1.00 1.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
12.00 15.00 15.00

 

4 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง
50.00 45.00 45.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (4) เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนงานกิจกรรมผู้สูงอายุ กับแกนนำชุมชน ตัวแทนผู้สูงอายุและครอบครัว (2) ประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้สูงอายุและครอบครัวเข้าร่วมโครงการ (3) จัดอบรมให้ความรู้และจัดกิจกรรมชมรมรวม 6 ครั้ง ครั้งละ 30 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ชุมชนร่วมใจส่งเสริมผู้สูงอายุให้สุขภาพดี

ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 3 มีนาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

รูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ที่มีชุมชนเป็นฐาน

จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ/มีคำสั่งคณะทำงาน

การจัดดูแลผู้สูงอายุร่วมกับครัวเรือนโดยมีแกนนำครอบครัวและอสม.ผู้ดูแลครัวเรือนเป็นตัวขับเคลื่อน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-อุปกรณ์ออกกำลังกาย -กลุ่มดนตรีอังกะลุง

-ประดิษฐ์ไม้พลอง/ร้อยยางยืด -รายชื่อสมาชิกกลุ่มอังกะลุงและวันฝึกซ้อม

-กลุ่มดนตรีอังกะลุงชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

กระบวนการจัดการความรู้ของสมาชิกชมรม ตามสิ่งที่ต้องรู้ ควรรู้ และอยากรู้

รายละเอียดกิจกรรมในแต่ละครั้ง ตามความต้องการของสมาชิกชมรม

การถอดดบทเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

-กรอบแนวคิดการให้ความรู้โดยใช้หลัก 3 อ 2 ส (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ สมองเสื่อม สามวัยใจเดียวกัน) เพื่อให้เกิดกิจกรรมที่ดีต่อสุขภาพผู้สูงอายุ -การทำงานเป็นที่มของแกนนำชุมชน

รายละเอียดกิจกรรมแต่ละครั้ง

การถอดบทเรียน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-เกิดชมรมผุ้สูงอายุในชุมชน
-เป็นศูนย์กลางการให้ความรู้และทำกิจกรรมของผู้สูงอายุ

การขึ้นทะเบียนชมรมผู้สูงอายุเป็นสมาชิกสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ประจำจังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2562

บริหารจัดการชมรมต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เป็นที่ศึกษาดูงานของชุมชนอื่นๆ เพื่อจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ

เกิดชมรมผู้สูงอายุแห่งใหม่เพิ่มขึ้นอีก 4 ชมรม -ตากวน/เกาะกก/โขดหิน/ห้วยโป่ง

พัฒนาทีมงานแกนนำสุขภาพในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ความรู้ในการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล

การจัดอบรมความรู้

การให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

การจัดเมนูอาหารสุขภาพ พืชผักครัวเรือน

การจัดอบรมให้ความรู้และการจัดกิจกรรมกลุ่ม

การให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง การปลูกผักครัวเรือน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สุูงอายุ

การออกกำลังกายด้วยไม้พลอง ยางยืด

ส่งเสริมให้มีการออกกำลังกายต่อเนื่องที่บ้าน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

การประเมินความเครียดและการให้ความรู้ -การเล่นเกม และการเล่นดนตรีอังกะลุง

-การฝึกสมาธิบำบัด SKT -การเล่นดนตรีอังกะลุง -กิจกรรมกลุ่ม เกม

-ประเมินความเครียดเป็นระยะ -ส่งเสริมการฝึกสมาธิบำบัดอย่างต่อเนื่อง -เชิญชวนเข้าร่วมซ้อมดนตรีอังกะลุงอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การค้นหาต้นทุนชุมชนมีหมอพื้นบ้าน และพืชผักที่เป็นสมุนไพรในชุมชน เสนอกิจกรรมให้สมาชิกลงความเห็นที่จะทำร่วมกัน

-ตะไคร้หอมกันยุง -ยาหม่องตะไคร้หอม -น้ำยาล้างจานจากน้ำด่างที่หมักจากขี้เถ้า

นำต้นทุนชุมชนมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การแบ่งปันในกลุ่มชมรมผู้สูงอายุ/ความร่วมมือจากครอบครัว

มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนมากขึ้น

การส่งเสริมให้มีกลุ่มการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัยอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุและให้ความรู้ในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุ

การอบรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-มีพื้นที่ให้ผู้สูงอายุได้มารวมกลุ่มทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ

ที่ทำการชมรมผู้สุงอายุชุมชนมาบข่า- สำนักอ้ายงอน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

มีการแลกเปลี่ยนและซื้อขายพืชผักที่ปลูกในชุมชน

ภาพถ่าย

ส่งเสริมการบริโภคอาหารปลอดสารพิษในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

การเลือกใช้สมุนไพรใกล้ตัว และการให้ความรู้ในการเข้ารับบริการ

-การให้ความรู้โดยแพทย์แผนไทย -การนำเสนอพืชสมุนไพรใกล้ตัวจากกลุ่มผู้สูงอายุ

การให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ระเบียบการเป็นสมาชิกชมรม

หนังสือระเบียบ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

การทำงานเป็นทีมและการประสานงานกับภาครัฐและเอกชน

หนังสือขอความอนุเคร่าะห์/การเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มเครือข่าย

ประสานงานอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การประชุม

รายงานการประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

ทีมงานจากแกนนำชุมชน/ หมอพื้นบ้าน/ กลุ่มแม่บ้าน

ภาพถ่ายกิจกรรม

การใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

การประชุมวางแผนงาน

รายงานการประชุม การประสานงาน ไลน์กลุ่ม

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

การนำเสนอสมุนไพร พืชผัก ที่ดีต่อสุขภาพจากสมาชิกกลุ่มในชมรม

ภาพการนำเสนอของสมาชิกชมรม

จัดการความรู้อย่างต่อเนื่อง และบันทึกเป้นข้อมูลชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

มีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น/มีภาวะหกล้ม ซึมเศร้า สมองเสื่อมมากขึ้น จึงเขียนแผนงานเสนอสปสช.ในการจัดกิจกรรม

แผนงานโครงการ

จัดทำแผนงาน โครงการอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

มีการทำงานเป็นทีมเพื่อส่วนรวมในกิจกรรมของชุมชนมากขึ้น

การเข้าร่วมจิตอาสาชุมชน

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

การดูแลสมาชิกชมรม/การแบ่งปัน

การแบ่งปัน ความร่วมือในกิจกรรม

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การจัดการรายรับรายจ่าย

การปลูกผักครัวเรือน การทำน้ำยาล้างจาน

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

การเยี่ยมสมาชิกที่เจ็บป่วย

ภาพถ่ายการไปเยี่ยม การพูดคุย

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

การแสดงความคิดเห็นของกลุ่ม รับรู้ข้อมูลที่ถูกต้อง และการตัดสินใจร่วมกัน

การโหวตกันในกลุ่ม

พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ชุมชนร่วมใจส่งเสริมผู้สูงอายุให้สุขภาพดี จังหวัด ระยอง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นายวิเชียร ศักดิ์เจริญ 2.น.ส.อุไร รักดี 3.นางเล็ก ค่าคาม 4.นางบุญศรี แก้วจรัสฉาย 5.นางนภัสนันท์ ล้อตระกูลนุกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด