กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการ ชุมชนในทอน ร่วมใจ ต้านภัยโควิด-19 ปี 2564 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสุพรรณวดี ภิรมย์บูรณ์/นางจำเนียร จันทรกุล/นายธรรมนูญ ฐิติเจริญธรรม

ชื่อโครงการ โครงการ ชุมชนในทอน ร่วมใจ ต้านภัยโควิด-19 ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-02-42 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ชุมชนในทอน ร่วมใจ ต้านภัยโควิด-19 ปี 2564 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชุมชนในทอน ร่วมใจ ต้านภัยโควิด-19 ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ชุมชนในทอน ร่วมใจ ต้านภัยโควิด-19 ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L6895-02-42 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,730.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโครน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคร้ายแรง ทำให้เกิดการตื่นหนกของประชาชนทั่วโลกและคนไทย ซึ่งพบการระบาดไปในหลายประเทศส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคมอย่างรุนแรง สถานการณ์การระบาดกำลังแพร่กระจายยังไม่สามารถควบคุมได้ โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมือปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเสียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่ ตัวไวรัส COVID-19 จะทำให้เกิดการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรนแรง
จากข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 12.00 น. สถานการณ์การแพร่ระบาดในประเทศไทย ระลอกใหม่ พบผู้ป่วยรายใหม่ 836 ราย ผู้ป่วยยืนยันสะสม 19,618 ราย หายป่วยแล้ว 12,514 ราย มีผู้ป่วยรักษาอยู่ 7,027 ราย ผู้เสียชีวิตสะสม 77 ราย โดยมาตรการป้องกันโควิด-19 ระลอกใหม่ ยึดหลัก D-M-H-T-T คือ D : Distancing คือ เว้นระยะห่างระหว่างกัน M : Mask Wearing คือ สวมหน้ากากผ้า/หน้ากากอนามัยตลอดเวลา H : Hand Washing คือ ล้างมือบ่อย ๆ T : Testing คือ ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายก่อนเข้างาน T : Thai Cha Na คือ เช็กอินผ่านแอปพลิเคชัน "ไทยชนะ" ทุกครั้ง เมื่อเข้าไปในสถานที่ต่าง ๆ ทางกลุ่ม อสม.ชุมชนในทอน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการเฝ้าระวัง ป้องกันการระบาดโรค จึงได้จัดทำโครงการชุมชนในทอน ร่วมใจ ต้านภัยโควิด-19 ปี 2564 ขึ้น เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคโควิด-19 ให้กับประชาชนในชุมชน เป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ และเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค โควิด-19
  2. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันโรคโควิด-19 ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้/รณรงค์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้ และมีความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคโควิด-19
  2. ชุมชนมีมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ในชุมชน และมีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้/รณรงค์

วันที่ 2 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน โดยปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข

- ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19
- ชี้แจงมาตรการ/การดำเนินงานในการเฝ้าระวัง/ป้องกันโรคโควิด-19 ของชุมชน - ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม
2. จัดกิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคโควิด-19 ในชุมชน
- จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ เช่น ป้ายไวนิลความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ป้ายโฟมบอร์ด ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น - อสม. /แกนนำสุขภาพชุมชน ลงพื้นที่รณรงค์เคาะประตูบ้าน โดยการวัดอุณหภูมิให้กับ ประชาชนในชุมชน และเน้นย้ำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 3. กิจกรรมติดตาม ค้นหากลุ่มเสี่ยง/ผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงหรือพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ โดย อสม./แกนนำสุขภาพชุมชน
- สำรวจ ค้นหา และขึ้นทะเบียนผู้ที่เดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยงหรือพื้นที่ที่มีการระบาดของ โรคโควิด-19 ในชุมชน
- ติดตามวัดอุณหภูมิ/เฝ้าระวังสังเกตอาการ ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข พร้อม รายงานผลการเฝ้าระวังให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน  โดยปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข  ซึ่งได้บรรยายเรื่อง  สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19  โรคโควิด-19 และวิธีการป้องกันโรคโควิด-19  มาตรการป้องกันโรคโควิด-19  ของจังหวัดตรัง  และแนวทางการดำเนินงานตามมาตรการเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19  ในชุมชน  โดยวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง  เมื่อวันที่  2  กันยายน  2564  ณ  อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง
  2. ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม  เมื่อวันที่  2  กันยายน  2564  จำนวน  50  คน  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน  42  ชุด  ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ  90.4  มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.52  โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้

- ด้านวิทยากร  และสื่อที่ใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.56  คิดเป็นร้อยละ  91.2
- ด้านความรู้ ความเข้าใจ  และการนำไปใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.52  คิดเป็นร้อยละ  90.4
- ด้านสถานที่/ระยะเวลา  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.52  คิดเป็นร้อยละ  90.4
- ภาพรวมของโครงการ  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.48  คิดเป็นร้อยละ  89.6
3. จัดกิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคโควิด-19  ในชุมชน  โดยได้ดำเนินการคือ
3.1 จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ เช่น  ป้ายไวนิลความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19  ป้ายโฟมบอร์ดประชาสัมพันธ์  เป็นต้น 3.2 อสม. /แกนนำสุขภาพชุมชน  ลงพื้นที่รณรงค์เคาะประตูบ้าน  โดยการวัดอุณหภูมิให้กับประชาชนในชุมชน  และเน้นย้ำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 4. กิจกรรมติดตาม ค้นหากลุ่มเสี่ยง/ผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงหรือพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโควิด-19  ระลอกใหม่  โดย อสม./แกนนำสุขภาพชุมชน
4.1 สำรวจ ค้นหา และขึ้นทะเบียนผู้ที่เดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยงหรือพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโควิด-19  ในชุมชน  ตั้งแต่เดือนเมษายน - กันยายน  2564  จำนวน  70  ราย
4.2 ติดตามวัดอุณหภูมิ/เฝ้าระวังสังเกตอาการ  ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข  พร้อมรายงานผลการเฝ้าระวังให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทราบ  ตั้งแต่เดือนเมษายน - กันยายน  2564  ดังนี้ - ผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง จำนวน  70  ราย - กลุ่มเสี่ยงที่สัมผัสผู้ติดเชื้อโควิด-19  จำนวน  22  ราย
จากการดำเนินงานพบว่าประชาชนในชุมชนที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงหรือพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโควิด-19  ระลอกใหม่  ได้รับการคัดกรอง/เฝ้าระวังโรคโควิด-19  ร้อยละ 100 4.3 จากการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19  ในชุมชน  ตั้งแต่เดือนเมษายน - กันยายน  2564  พบผู้ติดเชื้อโควิด-19  จำนวน  10  ราย

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน โดยปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งได้บรรยายเรื่อง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โรคโควิด-19 และวิธีการป้องกันโรคโควิด-19 มาตรการป้องกันโรคโควิด-19 ของจังหวัดตรัง และแนวทางการดำเนินงานตามมาตรการเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในชุมชน โดยวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2564 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง
  2. ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2564 จำนวน  50 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน 42 ชุด ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ร้อยละ  90.4  มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.52 โดยมีผลการประเมินแต่ละด้านดังนี้

- ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.56 คิดเป็นร้อยละ 91.2
- ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.52 คิดเป็นร้อยละ 90.4
- ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.52 คิดเป็นร้อยละ 90.4
- ภาพรวมของโครงการ  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.48 คิดเป็นร้อยละ 89.6
3. จัดกิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคโควิด-19 ในชุมชน โดยได้ดำเนินการคือ
3.1 จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ต่างๆ เช่น ป้ายไวนิลความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ป้ายโฟมบอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น 3.2 อสม. /แกนนำสุขภาพชุมชน ลงพื้นที่รณรงค์เคาะประตูบ้าน โดยการวัดอุณหภูมิให้กับประชาชนในชุมชน และเน้นย้ำมาตรการป้องกันโรคโควิด-19 4. กิจกรรมติดตาม ค้นหากลุ่มเสี่ยง/ผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงหรือพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ โดย อสม./แกนนำสุขภาพชุมชน
4.1 สำรวจ ค้นหา และขึ้นทะเบียนผู้ที่เดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยงหรือพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 ในชุมชน ตั้งแต่เดือนเมษายน - กันยายน 2564 จำนวน 70 ราย
4.2 ติดตามวัดอุณหภูมิ/เฝ้าระวังสังเกตอาการ ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข พร้อมรายงานผลการเฝ้าระวังให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขทราบ ตั้งแต่เดือนเมษายน - กันยายน 2564 ดังนี้ - ผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง จำนวน 70 ราย - กลุ่มเสี่ยงที่สัมผัสผู้ติดเชื้อโควิด-19  จำนวน 22 ราย
จากการดำเนินงานพบว่าประชาชนในชุมชนที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยงหรือพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคโควิด-19 ระลอกใหม่ ได้รับการคัดกรอง/เฝ้าระวังโรคโควิด-19 ร้อยละ 100 4.3 จากการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 ในชุมชน ตั้งแต่เดือนเมษายน - กันยายน 2564 พบผู้ติดเชื้อโควิด-19 จำนวน 10 ราย
5. สรุปค่าใช้จ่ายการดำเนินกิจกรรม/โครงการฯ ทั้งสิ้นจำนวน 20,730.- บาท ดังนี้ 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชน
- ค่าสมนาคุณวิทยากร  เป็นเงิน  3,600 บาท - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม  เป็นเงิน  3,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน  เป็นเงิน  3,500 บาท - ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน  เป็นเงิน    380 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมินความพึงพอใจ เป็นเงิน    500 บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน  1,210 บาท 2. กิจกรรมรณรงค์การป้องกันโรคโควิด-19 ในชุมชน
- ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 2 ผืน เป็นเงิน    600 บาท - ค่าโฟมบอร์ดประชาสัมพันธ์ 3 แผ่น เป็นเงิน  1,050 บาท 3. กิจกรรมติดตาม ค้นหากลุ่มเสี่ยงในชุมชน - ค่าเครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟราเรด 2 เครื่อง เป็นเงิน  5,000 บาท - ค่าเจลล้างมือแอลกอฮอล์ ขนาด 500 มล. 5 ขวด เป็นเงิน    750 บาท
- ค่าหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ 2 กล่อง เป็นเงิน    250 บาท - ค่าถุงมือทางการแพทย์ 1 กล่อง เป็นเงิน    180 บาท - ค่าเอกสารแบบคัดกรอง/ติดตาม และวัสดุอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน    560 บาท - ค่าหน้ากาก FACE SHIELD 5 ชิ้น เป็นเงิน    150 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ และเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค โควิด-19
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันโรคโควิด-19 ในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในชุมชน  มีความรู้  และเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรค โควิด-19 (2) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันโรคโควิด-19 ในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้/รณรงค์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ชุมชนในทอน ร่วมใจ ต้านภัยโควิด-19 ปี 2564 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-02-42

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุพรรณวดี ภิรมย์บูรณ์/นางจำเนียร จันทรกุล/นายธรรมนูญ ฐิติเจริญธรรม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด