กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป การคัดกรองเบาหวาน จำนวน 822 คน คิดเป็นร้อยละ 98.79 และความดันโลหิตสูง จำนวน 826 คน คิดเป็นร้อยละ 99.27 2.แกนนำกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 3.มีการติดตาม แกนนำกลุ่มเสี่ยง ทุกคนหลังจากได้รับความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4.แกนนำออกกำลังกายในหมู่บ้านได้การอบรมฟื้นฟู จำนวน 30 คน 5.แกนนำปลูกผักปลอดสารพิษ จำนวน 50 คน ได้รับความรู้และฝึกปฎิบัติในการปลูกผักปลอดสารพิษ การจัดทำปุ๋ยหมักชีวภาพ 6.จัดตั้งแปลงผักสาธิตในชุมชน 1 แปลง 7.มีตลาดเกษตรปลอดสารพิษในชุมชน 1 แห่ง ในโรงเรียนวัดตะแพน โดยมีกิจกรรมต่อเนื่องทุกเดือน 8.มีการเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 45 คน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 146 คน ในเขตรับผิดชอบ โดยทีมหมอครอบครัวบ้าน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคที่ถูกต้องเหมาะสม

 

2 เพื่อให้ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน

 

3 ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเรื้อรัง และลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเรื้อรัง และลดภาวะแทรกซ้อน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนมีความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคที่ถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อให้ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค ลดเสี่ยง ลดภาวะแทรกซ้อน (3) ลดอัตราผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคเรื้อรัง และลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh