กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง ม.4 บ้านท่าบันได ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
น.ส.ผกาวัลย์ ขันชู

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง ม.4 บ้านท่าบันได

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L1504-2-31 เลขที่ข้อตกลง 30/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง ม.4 บ้านท่าบันได จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง ม.4 บ้านท่าบันได



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง ม.4 บ้านท่าบันได " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L1504-2-31 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อัมพาต หรือ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือดและ โรคเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับโลก องค์การอัมพาตโลก (World Stroke Organization: WSO) รายงานว่า โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ของโลก มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองทั่วโลก 17 ล้านคน และเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 6.5 ล้านคน สำหรับในประเทศไทย โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุของโรคที่ก่อให้เกิดความสูญเสียอันเนื่องมาจากการตายก่อนวัยอันควรสูงเป็นอันดับต้นๆ รองลงมาจะเป็นโรคหัวใจขาดเลือดและ โรคเบาหวาน จะเห็นได้ว่า อัตราตายด้วย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือดและ โรคเบาหวาน นั้นเพิ่มขึ้นทุกปี ในปัจจุบันพบว่าโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือดและ โรคเบาหวาน เป็นภัยที่กำลังคุกคามประชากรทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ทั้งนี้เพราะโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือดและ โรคเบาหวาน เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ และยังเป็นโรคที่สามารถ เกิดได้กับประชากรทุกคนและทุกวัย ผู้ที่รอดชีวิตจากโรคนี้จะได้รับผลกระทบทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม ในผู้ป่วยบางรายเกิดความพิการกลายเป็นภาระให้กับคนในครอบครัว ทำให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ จึงเป็นปัญหาที่ทุกคนควรตระหนัก   ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณประจำหมู่บ้าน หมูที่ 4 บ้านท่าบันได เห็นความสำคัญเพื่อให้ประชาชนร่วมกันดูแลป้องกัน แก่ประชาชน ครอบครัว ชุมชน ให้มีความตระหนักและร่วมกันป้องกันโรคหลอดเลือดสมองโรคหัวใจขาดเลือดและ โรคเบาหวาน โดยเน้นการให้ข้อมูลความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคหลอดเลือดสมองและ โรคหัวใจขาดเลือด การสังเกตสัญญาณเตือนของโรค แนวทางการรับบริการเมื่อพบอาการของโรค และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จึงได้ดำเนินการโครงการส่งเสริมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง (Home BP) ขึ้นเพื่อนำไปใช้ในการดูแล ป้องกัน ลดปัจจัยเสี่ยง ลดความพิการและเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองต่อไป ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข มีแนวทางการดูแลในกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและ โรคหัวใจขาดเลือด ให้มีการติดตามวัดความดันโลหิตด้วยตนเอง วันละ 2 ครั้ง เช้าหลังตื่นนอนและก่อนนอน เป็นระยะติดต่อกัน 7 วัน ดังนั้นเพื่อเป็นป้องกันและเฝ้าระวังโรคดังกล่าวข้างต้น จะต้องคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปทุกปี และเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงสูงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ซึ่งจำเป็นต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ ได้แก่เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องตรวจน้ำตาลในเลือด เครื่องน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง และตลับสายวัดรอบเอว แต่จากการสำรวจวัสดุอุปกรณ์เครื่องตรวจวัดต่างๆของชมรมฯ ซึ่งได้ดำเนินการจัดซื้อเมื่อปี 2554 ได้เสื่อมสภาพ ชำรุด ใช้งานไม่ได้ จากการใช้งานมายาวนาน 7-8 ปี จึงมีความจำเป็นต้องมีการซื้อใหม่ เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนที่เพียงพอและได้ค่าการตรวจวัดที่เที่ยงตรง   ชมรมอาสาสมัครสาธารณประจำหมู่บ้าน หมูที่ 4 บ้านท่าบันได จึงได้จัดโครงการส่งเสริมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง เพื่อเฝ้าระวังป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ กลุ่มผู้ป่วยเดิมและกลุ่มป่วยใหม่ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและโรคดังกล่าวข้างต้นโดยการสอนและวัดความดันโลหิตที่บ้านด้วยตนเองและ อสม.

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สงสัยป่วยใหม่ HT (B.P.≥ 140/90 mmHg) ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังได้รับคำแนะนำ/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  2. เพื่อเป็นการยืนยันผลการคัดกรอง และได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วย และได้รับการดูแลรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น
  3. เพื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดอดในกลุ่มผู้สงสัยป่วยใหม่ความดันโลหิตสูง
  4. เพื่อให้บริการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 251
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 140
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถวัดความดันโลหิตได้ด้วยตนเองถูกต้อง และสามารถทราบถึงอาการและระดับความดันโลหิตที่ต้องมาก่อนนัด   2. ประชาชนที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง   3. ผู้มีความเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูงได้รับประเมินส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยโรค และได้รับบริการการรักษาเร็ว ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน   4. ผู้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้รับการปรับพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ส่งผลให้อัตราตายด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สงสัยป่วยใหม่ HT (B.P.≥ 140/90 mmHg) ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังได้รับคำแนะนำ/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อเป็นการยืนยันผลการคัดกรอง และได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วย และได้รับการดูแลรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดอดในกลุ่มผู้สงสัยป่วยใหม่ความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อให้บริการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 391
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 251
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 140
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สงสัยป่วยใหม่ HT (B.P.≥ 140/90 mmHg) ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำภายหลังได้รับคำแนะนำ/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2) เพื่อเป็นการยืนยันผลการคัดกรอง และได้รับการส่งต่อเพื่อวินิจฉัยผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มสงสัยป่วย และได้รับการดูแลรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มต้น (3) เพื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดอดในกลุ่มผู้สงสัยป่วยใหม่ความดันโลหิตสูง (4) เพื่อให้บริการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดในกลุ่มเสี่ยง ม.4 บ้านท่าบันได จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 64-L1504-2-31

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( น.ส.ผกาวัลย์ ขันชู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด