กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี


“ โครงการบรม สัมพันธ์ร่วมกันจัดการขยะ ปี 2564 ”

ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวยูนัยดา กาโป

ชื่อโครงการ โครงการบรม สัมพันธ์ร่วมกันจัดการขยะ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-2-3 เลขที่ข้อตกลง 9/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบรม สัมพันธ์ร่วมกันจัดการขยะ ปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบรม สัมพันธ์ร่วมกันจัดการขยะ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบรม สัมพันธ์ร่วมกันจัดการขยะ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยาบี อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3070-2-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,775.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยาบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการจัดเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน ซึ่งเป็นผลจากการไม่แยกประเภทของขยะนั้นเป็นสาเหตุซึ่งทำให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค คือ เมื่อขยะหลาย ๆ ประเภทถูกทิ้งรวมกันโดยไม่ได้แยกประเภท เช่น ขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะที่สามารถนำมารีไซเคิล และขยะที่เป็นพิษ นอกจากนี้การที่ไม่แยกประเภทขยะ ทำให้ขยะบางประเภทซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่ เช่น ขวดพลาสติก แก้วพลาสติก กระดาษ นั้นยากต่อการแยกประเภท ทำให้เกิดการสิ้นเปลืองทรัพยากรมากขึ้น ซึ่งผลจากการไม่แยกประเภทของขยะนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ก่อให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค จึงจัดทำโครงการ บรมสัมพันธ์ร่วมกันจัดการขยะขึ้น เพื่อเป็นการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะ การทิ้ง การคัดแยกขยะและการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี โดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนต้นแบบ มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากขยะ วิธีการลดปริมาณขยะ การคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี รวมทั้งขยะในชุมชนมีปริมาณลดลง จากการที่ประชาชนนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติคัดแยกขยะจากต้นทาง ส่งผลให้มีการลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและนำไปสู่การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีโดยอาศัยหลัก 3R
  2. 2 เพื่อลดปริมาณขยะ และแหล่งกำเนิดโรคในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ
  2. 2.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างแกนนำครูและแกนนำผู้ปกครอง จำนวน 3 ครั้ง
  3. 3. กิจกรรมคัดเลือกบ้านดีเด่น ด้านมีการคัดแยกขยะ คณะกรรมการ จำนวน 7 คน
  4. 4.กิจกรรมถอดบทเรียนและมอบประกาศนียบัตรบ้านดีเด่นด้านมีการคัดแยกขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนรู้ประเภทของขยะ และสามารถแยกประเภทขยะได้

  2. ชุมชนมีนิสัยรักความสะอาด และมีความรับผิดต่อสิ่งแวดล้อม

  3. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตและปราศจากโรคภัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

-คัดเลือกเเกนนำผู้ปกครองเเละเเกนนำครู -ฝึกปฏิบัติการทำถังขยะอินทรีย์ งบประมาณ จำนวน 2 รุ่นละ 50 คน 1.ค่าวิทยากรบรรยาย จำนวน 1 คน x 600 บาท x 6 ชม. เป็นเงิน 3600 บาท 2.ค่าวิทยากรภาคปฏิบัติ จำนวน 1 คน x 600 บาท x 6 ชม. เป็นเงิน 3600 บาท 3.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน x 50 บาท x จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 5000 บาท 4.ค่าอาหารว่างเเละเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท x จำนวน 4 มื้อ เป็นเงิน 5000 บาท 5.ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 100 คน x 15 บาท เป็นเงิน 1500 บาท 6.วัสดุอุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติการทำถังขยะอินทรีย์ จำนวน 100 ชุด x 79 บาท เป็นเงิน 7900 บาท 7.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 2 ม. x 3 ม. x 250 บาท x จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 1500 บาท รวมเป็นเงิน 28100 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชุมชนรู้ประเภทของขยะ และสามารถแยกประเภทขยะได้
  2. ชุมชนมีนิสัยรักความสะอาด และมีความรับผิดต่อสิ่งแวดล้อม
  3. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตและปราศจากโรคภัย

 

100 0

2. 2.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างแกนนำครูและแกนนำผู้ปกครอง จำนวน 3 ครั้ง

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างแกนนำครูและแกนนำผู้ปกครอง จำนวน 3 ครั้ง งบประมาณ -ค่าอาหารว่างเเละเครื่องดื่ม จำนวน 15 คน x 25 บาท x จำนวน 3 มื้อ เป็นเงิน 1125 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชุมชนรู้ประเภทของขยะ และสามารถแยกประเภทขยะได้
  2. ชุมชนมีนิสัยรักความสะอาด และมีความรับผิดต่อสิ่งแวดล้อม
  3. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตและปราศจากโรคภัย

 

15 0

3. 3. กิจกรรมคัดเลือกบ้านดีเด่น ด้านมีการคัดแยกขยะ คณะกรรมการ จำนวน 7 คน

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

งบประมาณ -ค่าตอบเเทนกรรมการตรวจบ้านดีเด่น จำนวน 7 คน x 100 บาท x 2 ครั้ง เป็นเงิน 1400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชุมชนรู้ประเภทของขยะ และสามารถแยกประเภทขยะได้
  2. ชุมชนมีนิสัยรักความสะอาด และมีความรับผิดต่อสิ่งแวดล้อม
  3. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตและปราศจากโรคภัย

 

7 0

4. 4.กิจกรรมถอดบทเรียนและมอบประกาศนียบัตรบ้านดีเด่นด้านมีการคัดแยกขยะ

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมาย 1.คณะครูโรงเรียนบ้านคลองช้าง จำนวน 10 คน 2.ตัวเเทนผู้ปกครอง จำนวน 50 คน 3.ผู้นำชุมชน จำนวน 5 คน 4.คณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 5 คน งบประมาณ 1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 70 คน x 50 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 3500 บาท 2.ค่าอาหารว่างเเละเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 1750 บาท 3.ค่าสมนาคุณวิทยากรหรือผู้ดำเนินรายการ จำนวน 1 คน x 600 บาท x 4 ชั่วโมง เป็นเงิน 2400 บาท 4.ค่าประกาศเกียรติคุณพร้อมกรอบ จำนวน 10 หลัง x 150 บาท เป็นเงิน 1500 บาท รวมเป็นเงิน 9150 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชุมชนรู้ประเภทของขยะ และสามารถแยกประเภทขยะได้
  2. ชุมชนมีนิสัยรักความสะอาด และมีความรับผิดต่อสิ่งแวดล้อม
  3. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ เอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตและปราศจากโรคภัย

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการบรมสัมพันธ์ร่วมกันจัดการขยะ ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคัดเเยกขยะเเต่ละประเภทตั้งเเต่ต้นทางให้กับผุ้ปกครองโดยจะมีการเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ในเรื่องการเเยกขยะด้วยหลักการ 3Rs เเละนำขยะไปใช้ประโยชน์สูงสุด มีการจัดกิจกรรมบ้านดีเด่น เน้นคัดเเยกซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้ผู้ปกครองได้นำความรู้ที่ได้จากการอบรมมาปรับใช้ที่บ้านให้เกิดผลเป็นรูปธรรมอย่างชัดเจนโดยจะมีคณะกรรมการร่วมจาก โรงเรียนบ้านคลองช้าง อบต.ยาบี เเละ รพ.สต.ยาบี ติดตามการดำเนินงาน จัดกิจกรรมถอดบทเรียนเเละมอบประกาศนียบัตรบ้านดีเด่นด้านมีการคัดเเยกขยะ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีโดยอาศัยหลัก 3R
ตัวชี้วัด : 60 % ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถคัดแยกขยะ
100.00

 

2 2 เพื่อลดปริมาณขยะ และแหล่งกำเนิดโรคในชุมชน
ตัวชี้วัด : 60 % ของผู้เข้าร่วมสามารถลดปริมาณ ขยะ และแหล่งกำเนิดโรค
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อคัดแยกขยะอย่างถูกวิธีโดยอาศัยหลัก 3R (2) 2 เพื่อลดปริมาณขยะ และแหล่งกำเนิดโรคในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ (2) 2.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างแกนนำครูและแกนนำผู้ปกครอง จำนวน 3 ครั้ง (3) 3. กิจกรรมคัดเลือกบ้านดีเด่น  ด้านมีการคัดแยกขยะ คณะกรรมการ จำนวน 7 คน (4) 4.กิจกรรมถอดบทเรียนและมอบประกาศนียบัตรบ้านดีเด่นด้านมีการคัดแยกขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบรม สัมพันธ์ร่วมกันจัดการขยะ ปี 2564

รหัสโครงการ 64-L3070-2-3 รหัสสัญญา 9/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

การจัดกิจกรรมโครงการเยาวชนต้นกล้าต้านยาเสพติด ได้มีการจัดกิจกรรมสร้างสุข ห่างไกลยาเสพติด เป็นการอบรมให้ความรู้เรื่องของยาเสพติดและโทษของสิ่งเสพติดให้กับนักเรียนเพื่อสกัดกั้นไม่ให้นักเรียนในโรงเรียนยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด แล้วนำความรู้ที่ได้รับไปสู่กิจกรรมประกวดจัดป้ายนิเทศเเต่ละห้องจัดทำป้าย สื่อและอุปกรณ์ต่างๆเพื่อใช้ในการเดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการป้องกันไม่ให้เกิดการเเพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มนักเรียนและเผยเเพร่ความรู้ให้กับชุมชนและบุคคลในชุมชนทราบ และกิจกรรมละครสร้างสรรค์ต้านภัยยาเสพติด เป็นกิจกรรมหนึ่งที่นักเรียนได้นำความรู้จากการอบรมมาถ่ายทอดเป็นการเเสดงละครเพื่อตระหนักให้เห็นโทษและอันตรายของสิ่งเสพติดที่กำลังระบาดในปัจจุบันส่งผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม นักเรียนสามารถจะเผยเเพร่ความรู้ที่ได้ผ่านกิจกรรมเคาะประตูสู่ชุมชน เป็นการขับเคลื่อนต่อต้านยาเสพติดทั้งในระดับโรงเรียน ชุมชนและสังคม นักเรียนมีความรู้เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันที่ดีไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดมีทักษะในการดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปลอดภัย

1.นักเรียนในโรงเรียนและคนในชุมชนไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

2.นักเรียนในโรงเรียนและคนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันไม่ให้เกิดการเเพร่ระบาดของยาเสพติด และสามารถนำไปเผยแพร่สู่นักเรียนในโรงเรียนอื่นๆและบุคคลใกล้ชิดได้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

1.เพื่อสกัดกั้นไม่ให้นักเรียนในโรงเรียนยุ่งเกี่ยวกับ ยาเสพติด

2.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของยาเสพติดในกลุ่มนักเรียน

3.เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียน และคนในชุมชน ตระหนักถึงโทษและอันตรายของยาเสพติดที่กำลังระบาดในปัจจุบัน

1.นักเรียนร้อยละ 80 ห่างไกลจากยาเสพติด

2.นักเรียนร้อยละ 80 ได้รับการเรียนรู้เกี่ยวกับยาเสพติด

3.นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ขั้นการเตรียมการ (PLAN)

1.ประชุมชี้เเจงทำความเข้าใจ ขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ

2.วางรูปแบบการดำเนินงานโครงการ

ขั้นดำเนินการ (DO)

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสร้างสุข ห่างไกลยาเสพติด

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการเดินรณรงค์ต้านภัยยาเสพติด

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมละครสร้างสรรค์ต้านภัยยาเสพติด

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเผยเเพร่ความรู้

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประกวดจัดป้ายนิเทศต้านภัยยาเสพติด

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมเคาะประตูสู่ชุมชน

ขั้นการตรวจและประเมิน (CHECK)

สรุปผล/เขียนรายงานเสนอผู้บริหาร

ขั้นการเเก้ไขและปรับปรุง (ACTION)

นำผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนางานในปีงบประมาณหน้าต่อไป

1.นักเรียนในโรงเรียนและคนในชุมชนไม่ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด

2.นักเรียนในโรงเรียนและคนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันไม่ให้เกิดการเเพร่ระบาดของยาเสพติด และสามารถนำไปเผยเเพร่สู่นักเรียนในโรงเรียนอื่นๆ และบุคคลใกล้ชิดได้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

กิจกรรมที่ 1 -วิทยากรบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติด -ตอบคำถามเกี่ยวกับยาเสพติด -กิจกรรมกลุ่ม -กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน จำนวน 134 คน

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการเดินรณรงค์ต้านภัยยาเสพติด -กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน จำนวน 134 คน

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมละครสร้างสรรค์ต้านภัยยาเสพติด -แสดงละครสั้นให้ความรู้เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติดประเภทต่างๆ -ตอบคำถามเกี่ยวกับความรู้ที่ได้รับจากการแสดงละครสั้น -กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน จำนวน 134 คน

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเผยเเพร่ความรู้ -เผยเเพร่ข้อมูลเกี่ยวกับโทษและอันตรายของยาเสพติด รวมถึงภาพกิจกรรมต่างๆของโครงการทางเว็บไซต์โรงเรียน

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมประกวดจัดป้ายนิเทศต้านภัยยาเสพติด -ประกวดจัดป้ายนิเทศรณรงค์ต้านภัยยาเสพติด หัวข้อ ''โทษและอันตรายของยาเสพติด'' -ประกาศผลการประกวดนิเทศรณรงค์ต้านภัยยาเสพติด กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน จำนวน 134 คน

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมเคาะประตูสู่ชุมชน -ให้ความรู้ เกี่ยวกับโทษและอันตรายของยาเสพติดโดยแผ่นพับความรู้ด้านยาเสพติด -แบบสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับปัญหายาเสพติดในชุมชน พร้อมให้คำแนะนำ

1.นักเรียนในโรงเรียนและคนในชุมชนไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

2.นักเรียนในโรงเรียนและคนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันไม่ให้เกิดการเเพร่ระบาดของยาเสพติด และสามารถนำไปเผยเเพร่สู่นักเรียนในโรงเรียนอื่นๆ และบุคคลใกล้ชิดได้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีการจัดตั้งกลุ่ม โดยมีแกนนำนักเรียนในการรณรงค์ให้ห่างไกลยาเสพติด ในสถานศึกษาและชุมชน

1.นักเรียนในโรงเรียนและคนในชุมชนไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

2.นักเรียนในโรงเรียนแลคนในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันไม่ให้เกิดการเเพร่ระบาดของยาเสพติด และสามารถนำไปเผยเเพร่สู่นักเรียนในโรงเรียนอื่นๆ และบุคคลใกล้ชิดได้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบรม สัมพันธ์ร่วมกันจัดการขยะ ปี 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3070-2-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวยูนัยดา กาโป )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด