กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการออกกำลังกายสไตล์แดนซ์เพื่อสุขภาพ ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาคร บุญนำ

ชื่อโครงการ โครงการออกกำลังกายสไตล์แดนซ์เพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2564-L5221-2-11 เลขที่ข้อตกลง 14/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกกำลังกายสไตล์แดนซ์เพื่อสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกกำลังกายสไตล์แดนซ์เพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกกำลังกายสไตล์แดนซ์เพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2564-L5221-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีประชากรวัยทำงาน (ในช่วงวัย15-60 ปี) ในสัดส่วนที่สูงกว่า วัยอื่นๆ วัยทำงานถือเป็นวัยที่มีบทบาทสำคัญต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ กระทรวง สาธารณสุขได้มีนโยบายพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงานภายใต้แผนบูรณาการพัฒนาคนตลอด ช่วงชีวิต เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเน้นหนักในการลดปัจจัยเสี่ยง และลดพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยเฉพาะในกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด และเบาหวาน ที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการดำเนินกิจกรรมและการประกอบอาชีพ คุณภาพชีวิต และเศรษฐานะของประชาชน ตลอดจนความสามารถของแรงงานในการ ขับเคลื่อนประเทศและภาระค่าใช้จ่ายโดยรวมของประเทศแผนงานดังกล่าวมีการดำเนินการ ทั้งในชุมชน สถานที่ทำงานและสถานบริการสุขภาพ ในปัจจุบันมีข้อมูลองค์ความรู้ที่สนับสนุนว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดำเนินชีวิต และ/หรือการใช้ยาบางกลุ่ม สามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคจึงได้จัดทำหนังสือ “การดำเนินการลดเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือดในกลุ่มวัยทำงานที่มีความคุ้มค่าหรือมีประสิทธิผล” ในพื้นที่เป้าหมาย เฉพาะในชุมชน สถานบริการทางสุขภาพ และสถานที่ทำงาน โดยใช้วิธีการทบทวนวรรณกรรม อย่างเป็นระบบ (systematic review) จากการศึกษาวิจัยทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เนื้อหาหลักประกอบด้วยรูปแบบ วิธีการและการวัดประสิทธิผลของการดำเนินการสำหรับเป็น แนวทางให้บุคลากรสาธารณสุขได้นำไปปรับใช้ในการพัฒนารูปแบบ วิธีการดำเนินงานและ การติดตามประเมินผลการป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดให้มีประสิทธิผล คุ้มค่า และเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่มากยิ่งขึ้น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพที่เหมาะสมในกลุ่มวัยทำงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ลดการเกิดโรคและลดปัญหา รวมถึง ผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่อไป ซึ่งประชากรวัยทำงาน ไม่มีเวลาในการออกกำลังกาย ส่งผลทำให้ทำให้เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้น และขาดแรงจูงในในการออกกำลังกาย สำหรับสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังของ ตำบลท่าบอน ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ทั้งหมด 3707 คน เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน จำนวน 375 คน คิดเป็นร้อยละ 10.12 และเป็นกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจำนวน 257 คน คิดเป็นร้อยละ 6.93 และเป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จำนวน 51 คน คิดเป็นอัตราป่วยจากกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน 13.6เป็นความดันโลหิตสูงรายใหม่จำนวน 83 คน และอัตราป่วยจากกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง 35.29 จะเห็นได้ว่าอัตราป่วยเพิ่มสูงขึ้นในทุกๆปี ทางชมรมส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน จึงจัดทำโครงการออกกำลังกายสไตล์แดนซ์เพื่อสุขภาพ เพื่อกระตุ้นให้อสม. และประชาชนแกนนำมีการตื่นตัวในการออกกำลังกาย และเป็นแบบอย่างแก่ประชาชนตำบลท่าบอนในการออกกำลังกายมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมการออกกำลังกายแบบโนราห์บิก และไลน์แดนซ์(2 วัน)
  2. จัดหาเครื่องเสียงสำหรับกิจกรรมออกกำลังกาย(โนราห์บิก และสไตล์แดนซ์)เพื่อสุขภาพ
  3. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  4. ออกกำลังกายแบบโนราห์บิก และไลน์แดนซ์เพื่อสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.อสม.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีสภาวะดรรชนีมวลกายดีขึ้นมากกว่าร้อยละ 50 2.ร้อยละ 80 อสม.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ออกกำลังกายต่อเนื่องอย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ เป็นเวลา 5 เดือน 3.อสม.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ไม่เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากกว่าร้อยละ 80


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
40.00 70.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
10.00 5.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
7.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการออกกำลังกายแบบโนราห์บิก และไลน์แดนซ์(2 วัน) (2) จัดหาเครื่องเสียงสำหรับกิจกรรมออกกำลังกาย(โนราห์บิก และสไตล์แดนซ์)เพื่อสุขภาพ (3) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (4) ออกกำลังกายแบบโนราห์บิก และไลน์แดนซ์เพื่อสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการออกกำลังกายสไตล์แดนซ์เพื่อสุขภาพ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2564-L5221-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาคร บุญนำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด