กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา


“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดตำบลสะดาวาประจำปี 2564 ”

ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรซูลฟาน ยานยา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดตำบลสะดาวาประจำปี 2564

ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3035-01-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดตำบลสะดาวาประจำปี 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดตำบลสะดาวาประจำปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดตำบลสะดาวาประจำปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3035-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การฝากครรภ์เป็นสิ่งที่สำคัญและมีประโยชน์มากในทางสูติศาสตร์ เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า หญิงตั้งครรภ์ที่ไม่มาฝากครรภ์ ไม่ได้รับการดูแลขณะตั้งครรภ์ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จะมีโอกาสเกิดภาวะเสี่ยงหรือได้รับอันตรายจากการตั้งครรภ์ และการคลอดมากกว่า และรุนแรงกว่าหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการตรวจครรภ์และดูแลครรภ์อย่างถูกต้องและทันเวลา และต่อเนื่องสม่ำเสมอ ภาวะเสี่ยงต่างๆ อาจมีระดับของอันตรายถึงชีวิตของมารดาหรือทารกได้หากหญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ จากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตั้งแต่อายุครรภ์ยังน้อย และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ รวมไปถึงสามีและญาติผู้อยู่ใกล้ชิดกับหญิงตั้งครรภ์ได้รับข้อมูลที่มีประโยชน์เกี่ยวข้องกับหญิงตั้งครรภ์ ก็จะสามารถดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจและเห็นความสำคัญของการคลอดในสถานพยาบาลของรัฐ ซึ่งมีความพร้อมทั้งทางด้านเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ทางการแพทย์ ก็จะสามารถลดอัตราเสี่ยงต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ได้ ช่วยลดปัญหามารดาตายคลอดจากการตกเลือดหลังคลอด ทารกตายปริกำเนิด รวมถึงการติดเชื้อหลังคลอด ที่ส่งผลกระทบถึงชีวิตของมารดาและทารกได้ จะเห็นได้ว่าหญิงตั้งครรภ์จะสามารถ ดูแลครรภ์และคลอดได้อย่างปลอดภัย มีบุตรที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องประกอบกับปัจจัยหลายๆด้าน จากสถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา พบว่าร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ของปี2561 , 2562 และ 2563 คิดเป็นร้อยละ 83.12 , 92.96 และ 97.73 ตามลำดับ , ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์คุณภาพ ของปี2561 , 2562 และ 2563 คิดเป็นร้อยละ 65.79 , 83.10 และ 77.27 ตามลำดับร้อยละของหญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้งตามเกณฑ์ ของปี2561 , 2562 และ 2563 คิดเป็นร้อยละ 19.23 , 74.68 และ 48.89 ตามลำดับ , ร้อยละของเด็กแรกเกิด - ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ของปี2561 , 2562 และ 2563 คิดเป็นร้อยละ 11.70 , 34.34 และ 56.16 ตามลำดับ พบว่ายังมีปัญหาอีกหลายอย่าง ที่หญิงตั้งครรภ์ ยังไม่ทราบหรือไม่เห็นความสำคัญ เช่น ความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ หากหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ล่าช้าและผลเลือดที่เจาะคัดกรองมีผลผิดปกติในบางตัว เช่น การติดเชื้อ HIV หากไม่ได้รับประทานยาต้านเชื้อแต่เนินๆ เชื้อก็สามารถแพร่กระจายไปยังลูกในครรภ์ได้ หรือภาวะเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ขณะตั้งครรภ์ตลอดจนภาวะเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นขณะคลอด และหลังคลอด เช่น ภาวะซีดขณะตั้งครรภ์ ภาวะเด็กดิ้นผิดปกติ ภาวะเลือดออกทางช่องคลอด ภาวะคลอดยาก และภาวะตกเลือดหลังคลอด การปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์ ความสำคัญของการตรวจหลังคลอด การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ทารก และความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การไม่มาฝากครรภ์ตามนัดหมาย จึงส่งผลให้ไม่สามารถดุแลครรภ์ได้ตามเกณฑ์คุณภาพของการฝากครรภ์ ปัญหาเหล่านี้หากไม่ได้รับการแก้ไขจะส่งผลกระทบถึง คุณภาพชีวิตของมารดาและทารกตั้งแต่ในระยะตั้งครรภ์ จนถึงระยะหลังคลอด รวมไปถึงพัฒนาการของเด็กหลังคลอด และอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ดังนั้นการที่จะทำให้ชุมชน บุคคลใกล้ชิดและหญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลครรภ์ให้มีคุณภาพและคลอดบุตรที่มีคุณภาพ จำเป็นอย่างยิ่งที่หญิงตั้งครรภ์และทุกคนที่เกี่ยวข้อง ที่จะต้องรับรู้เกี่ยวกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ การปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ และการดูแลตนเองและบุตรเมื่อคลอดอย่างถูกวิธี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา เล็งเห็นความสำคัญของการให้บริการฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ หญิงมีครรภ์ ได้รับการดูแลตามมาตรฐานตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ และระยะหลังคลอดรวมถึงการดูแลทารกแรกคลอด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ตำบลสะดาวาประจำปี 2564 ขึ้นเพื่อให้เกิดความปลอดภัยทั้งแม่และลูก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตั้งแต่แรกเริ่ม ตั้งครรภ์
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพอย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อหญิงตั้งครรภ์และ แกนนำแม่อาสา มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ หลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
  4. เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด
  5. ทารกแรกคลอดได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ

    2. หญิงตั้งครรภ์ที่พบความผิดปกติขณะตั้งครรภ์ได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงทีหรือส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกต้องต่อไป

    3. หญิงตั้งครรภ์และ แกนนำแม่อาสา มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ ระยะหลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

    4.ไม่พบอัตราตายของมารดาและทารก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตั้งแต่แรกเริ่ม ตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของหญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
    60.00

     

    2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 หญิงตั้งครรภ์มารับบริการฝากครรภ์ต่อเนื่องครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐาน
    70.00

     

    3 เพื่อหญิงตั้งครรภ์และ แกนนำแม่อาสา มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ หลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ผ่านหารอบรมมีความรู้ในการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ หลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่ถูกต้อง
    100.00

     

    4 เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมติดตามดูแลหลังคลอดจาก จนท.สาธารณสุข
    70.00

     

    5 ทารกแรกคลอดได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของทารกแรกคลอดได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน
    60.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตั้งแต่แรกเริ่ม ตั้งครรภ์ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อหญิงตั้งครรภ์และ แกนนำแม่อาสา มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ หลังคลอดและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (4) เพื่อให้หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด (5) ทารกแรกคลอดได้รับนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย    6 เดือน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดตำบลสะดาวาประจำปี 2564 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 64-L3035-01-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนูรซูลฟาน ยานยา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด