กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการ ส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยนวัตกรรมผ้าถุง ชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2560

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการ ส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยนวัตกรรมผ้าถุง ชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุณี สหับดิน

ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยนวัตกรรมผ้าถุง ชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L7850-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยนวัตกรรมผ้าถุง ชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยนวัตกรรมผ้าถุง ชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยนวัตกรรมผ้าถุง ชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L7850-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพดี ร่างกายแข็งแรงเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา การดูแลส่งเสริมสุขภาพจะต้องดูแลและส่งเสริมทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต การออกกำลังกายจึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถทำให้สุขภาพกายและสุขภาพจิตของคนเราแข็งแรงการออกกำลังกายที่มีคุณค่า ไม่จำเป็นต้องมีราคาแพง เพราะความสำคัญของการออกกำลังกายอยู่ที่การได้ใช้ร่างกายในการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่อย่างไรให้ถูกต้องเหมาะสม พอเพียงกับความต้องการของร่างกายและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อตนเอง ไม่ว่าจะเป็นการออกกำลังกายด้วยยางยืด ไม้พลอง เศษผ้า และผ้าถุง ซึ่งเป็นการออกกำลังกายอีกวิธีหนึ่ง นอกจากจะช่วยพัฒนากล้ามเนื้อ กระดูกข้อต่อ และระบบโครงสร้างร่างกายให้แข็งแรงแล้ว ยังช่วยกระตุ้นและพัฒนาการรับรู้สั่งงานของเซลล์ประสาทขึ้น ทำให้ร่างกายสดชื่นกระปรี้ประเปร่า แข็งแรง มีความมั่นคงในการทรงตัวและความสัมพันธ์ในการเคลื่อนไหว ช่วยเพิ่มความมั่นใจในบุคลิกภาพ รูปร่าง ทรวดทรงที่กระชับได้สัดส่วนสวยงาม และที่สำคัญเป็นการออกกำลังกายที่ไม่ต้องลงทุนซื้อหามาด้วยราคาแพงเพื่อแลกกับสุขภาพที่ดี จากการสำรวจพบว่าประชาชนยังไม่เริ่มต้นที่จะออกกำลังกายไม่ว่าจะเป็นเด็กเยาวชนและผู้สูงอายุอันเนื่องมาจากการไม่มีเวลาว่างในการออกกำลังกาย ไม่สามารถออกมาร่วมออกกำลังกายนอกบ้านได้จึงเป็นเหตุให้สุขภาพอ่อนแอลงและอาจประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ตามมาเช่น ความดันโลหิตสูงเบาหวาน โรคอ้วน โรคมะเร็ง ความเครียด ฯลฯแม้ว่าชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลจะรณรงค์ให้มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และเคยได้จัดทำโครงการที่เกี่ยวข้องกับการออกกำลังกายโดยใช้เศษผ้า แต่ยังไม่สามารถดำเนินการได้อย่างทั่วถึง เนื่องจากประชาชนบางคนไม่มีเศษผ้า ไม่มีเวลา หรือไม่ตระหนักในการหาอุปกรณ์มาประกอบการออกกำลังกาย หรือเป็นวัสดุที่ไม่แข็งแรงทนทาน อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลจึงคิดที่จะนำเอานวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงมาใช้ในการออกกำลังกายแทน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยนวัตกรรมผ้าถุง ชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2560เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะในการออกกำลังกายโดยใช้ผ้าถุงและมีความตระหนักในการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายโดยการใช้นวัตกรรมด้วยผ้าถุง
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ โดยการใช้นวัตกรรมด้วยผ้าถุง
  3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสมรรถภาพทางร่างกายที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการพัฒนาศักยภาพทำให้มีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุง
    2. ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์
    3. ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสมรรถภาพทางร่างกายที่ดีขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ตรวจสมรรถภาพร่างกายก่อนดำเนินกิจกรรมและอบรมให้ความรู้/ทักษะในการออกกำลังกายโดยการใช้นวัตกรรมด้วยผ้าถุง

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.1 การประเมินความรู้ก่อนการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับพอใช้ จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 54 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลาง จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 6การประเมินความรู้หลังการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลาง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 44 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 56 1.2 กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน มีความตระหนักระดับปานกลาง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 มีความตระหนักระดับดี จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 82 และมีความตระหนักระดับดีมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 1.3 กลุ่มเป้าหมายมีสมรรถภาพที่ดีขึ้น โดยใช้เครื่องวัด 2 แบบ คือ- เครื่องวัดแรงบีบมือ สมรรถภาพร่างกายของกลุ่มเป้าหมายโดยใชเครื่องวัดแรงบีบมือ ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน มีสมรรถภาพร่างกายระดับปานกลาง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 และมีสมรรถภาพร่างกายระดับดี จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 86 - เครื่องวัดความอ่อนตัวด้านหน้า สมรรถภาพร่างกายของกลุ่มเป้าหมายโดยใชเครื่องวัดความอ่อนตัวด้านหน้า ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน มีสมรรถภาพร่างกายระดับดี จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 54 และมีสมรรถภาพร่างกายระดับดีมาก จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 46

     

    50 50

    2. ตรวจสมรรถภาพร่างกายหลังดำเนินกิจกรรม และสรุปผลการทำบันทึกกิจกรรมการออกกำลังกายประจำสัปดาห์

    วันที่ 21 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายมีสมรรถภาพที่ดีขึ้น โดยใช้เครื่องวัด 2 แบบ คือ
    - เครื่องวัดแรงบีบมือ สมรรถภาพร่างกายของกลุ่มเป้าหมายโดยใชเครื่องวัดแรงบีบมือ ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน มีสมรรถภาพร่างกายระดับปานกลาง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 และมีสมรรถภาพร่างกายระดับดี จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 86
    - เครื่องวัดความอ่อนตัวด้านหน้า สมรรถภาพร่างกายของกลุ่มเป้าหมายโดยใชเครื่องวัดความอ่อนตัวด้านหน้า ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน มีสมรรถภาพร่างกายระดับดี จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 54 และมีสมรรถภาพร่างกายระดับดีมาก จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 46

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.1 การประเมินความรู้ก่อนการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับพอใช้ จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 54 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลาง จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 6 การประเมินความรู้หลังการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลาง จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 44 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 28 คน
    คิดเป็นร้อยละ 56
    1.2 กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน มีความตระหนักระดับปานกลาง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 มีความตระหนักระดับดี จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 82 และมีความตระหนักระดับดีมาก จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 1.3 กลุ่มเป้าหมายมีสมรรถภาพที่ดีขึ้น โดยใช้เครื่องวัด 2 แบบ คือ
    - เครื่องวัดแรงบีบมือ สมรรถภาพร่างกายของกลุ่มเป้าหมายโดยใชเครื่องวัดแรงบีบมือ ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน มีสมรรถภาพร่างกายระดับปานกลาง จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 และมีสมรรถภาพร่างกายระดับดี จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 86
    - เครื่องวัดความอ่อนตัวด้านหน้า สมรรถภาพร่างกายของกลุ่มเป้าหมายโดยใชเครื่องวัดความอ่อนตัวด้านหน้า ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 50 คน มีสมรรถภาพร่างกายระดับดี จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 54 และมีสมรรถภาพร่างกายระดับดีมาก จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 46

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายโดยการใช้นวัตกรรมด้วยผ้าถุง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการพัฒนาศักยภาพทำให้มีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุง ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ โดยการใช้นวัตกรรมด้วยผ้าถุง
    ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ ร้อยละ 80

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสมรรถภาพทางร่างกายที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสมรรถภาพทางร่างกายที่ดีขึ้น ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายโดยการใช้นวัตกรรมด้วยผ้าถุง (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์ โดยการใช้นวัตกรรมด้วยผ้าถุง (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูลที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสมรรถภาพทางร่างกายที่ดีขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ ส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยนวัตกรรมผ้าถุง ชุมชนโรงเรียนอนุบาลเมืองสตูล เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L7850-2-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุณี สหับดิน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด