โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่ ”
ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์ชุติมันต์ พงศ์ไตรภูมิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่
ธันวาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่
ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3366-1-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำดูแลผู้ป่วยจิตเวช
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) เยี่ยมตรวจกลุ่มเป้าหมาย (3) ติดตามประเมินผล (4) สรุปและประเมินผล
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมจากการประเมินโครงการอบรม
- การอบรมดีมาก มีความสุขในการอบรม มีความเข้าใจเรื่องที่อบรม
- ขอบคุณวิทยากร ที่มาให้ความรู้
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคจิตเวชเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข ทำให้เกิดความพิการและสูญเสียเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้เพราะปัญหาไม่ได้ส่งผลกระทบต่อเฉพาะผู้ป่วยเท่านั้น ยังส่งผลกระทบไปถึงญาติ ผู้ดูแลและบุคคลในสังคม ผู้ป่วยจิตเวชมักขาดโอกาสและการสนับสนุนในสังคม ทำให้ตกเป็นเหยื่อในรูปแบบต่าง ๆ หรือเสี่ยงต่อการก่อคดีอุกฉกรรจ์ และยังพบว่าญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วยก็ได้รับผลกระทบด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม เป็นโรคที่ก่อให้เกิดภาระสูงในการดูแล ส่งผลให้ญาติมีความท้อแท้ เบื่อหน่าย หมดความหวังและกำลังใจในการรักษา ผลกระทบในด้านลบทีเกิดขึ้นมีทั้ง ด้านผู้ป่วย ไม่ว่าจะเป็นการปฏิเสธการเจ็บป่วย ขาดการรักษาที่ต่อเนื่อง ไม่ยอมรับประทานยา ด้านผู้ดูแล ไม่มีเวลา ต้องไปประกอบอาชีพทำให้ผู้ป่วยต้องอยู่คนเดียว ขาดทักษะในการดูแลผู้ป่วย มีทัศนคติด้านลบต่อผู้ป่วยจิตเวช คิดว่าเป็นโรคที่รักษาไม่หาย ด้านชุมชน ประกอบด้วย คนในชุมชนหวาดกลัวต่ออาการกำเริบ อาจมีทัศนคติด้านลบต่อผู้ป่วยโรคจิต เพิกเฉย มีความคิดว่าผู้ป่วยต้องอยู่ในโรงพยาบาลเท่านั้น ไม่สามารถอยู่ในชุมชนได้ นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคจิตมักมีการดำเนินโรคเรื้อรัง และกลับเป็นซ้ำบ่อย ซึ่งมีผลกระทบต่อความรุนแรงของอาการมากขึ้น อาการเรื้อรังไม่หายขาด กิจกรรมการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง ได้แก่ กิจกรรมการเยี่ยมบ้าน การดูแลให้ได้รับยาต่อเนื่อง การเฝ้าระวังและจัดการปัจจัยกลุ่มเสี่ยงต่อการกำเริบ ส่งเสริมปัจจัยที่ทำให้ญาติและผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เชื่อมโยงข้อมูลในการส่งต่อในกรณีมีภาวะฉุกเฉิน โดยทีมสุมสุขภาพในชุมชน ร่วมกับเครือข่ายชุมชนในการดูแลอำเภอศรีบรรพต ในปีงบประมาณ 2563 มีผู้ป่วยโรคจิต/จิตเภท จำนวน 177 คน มีผู้ป่วยมีอาการกำเริบซ้ำ 12 คน ทำให้เกิดผลกระทบมากมายดังที่กล่าวมาคลินิกสุขภาพจิต กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลศรีบรรพต เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงร่วมกับ รพ.สต.เขาปู่ จัดทำโครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่เพื่อให้เครือข่ายอสม. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคทางจิตเวชเข้าใจแนวทางการดูแลผู้ป่วย และสามารถดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ไม่มีอาการกำเริบซ้ำ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามศักยภาพของตนเองต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างแกนนำดูแลผู้ป่วยจิตเวช
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- เยี่ยมตรวจกลุ่มเป้าหมาย
- ติดตามประเมินผล
- สรุปและประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี และมีทักษะในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวช
- ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานได้รับการรักษาต่อเนื่องและไม่มีอาการกำเริบกลับเป็นซ้ำ
- ผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ลดภาระการดูแลของญาติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู็ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่ ปีงบประมาณ 2564 ได้จัดให้มีการอบรม ในวันที่ 19 ส.ค.65(เลื่อนมาจัดปีงบประมาณ 2565 เนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019) ณ ห้องประชุม รพ.สต. เขาปู่ ตำบลเขาปู่ และมีการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงหรือขาดการรักษาต่อเนื่อง ร่วมกับ รพ.สต.เขาปู๋ แกนนำชุมชน เครือข่าย อสม.และ จนท.จากอบต.เขาปู่ ในวันที่ 26 สิงหาคม 2565
2.มีผู้เข้าร่วมอบรมตามโครงการฯ จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินการอบรม 6 คน ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 86.67 และทำแบบประเมินความรู้หลังการอบรม จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 ของผู้เข้าร่วมการอบรม ร่วมประเมินผลความพึงพอใจ จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 ของผู้เข้าร่วมอบรม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างแกนนำดูแลผู้ป่วยจิตเวช
ตัวชี้วัด : -ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องโรคทางจิตเวชและแนวทางการดูแล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
-ผู้เข้ารับการอบรม มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วยจิตเวช ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
-ผู้เข้ารับการอบรมสามารถคัดกรองโรคจิต และคัดกรองซึมเศร้าเบื้องต้นได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
51
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำดูแลผู้ป่วยจิตเวช
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) เยี่ยมตรวจกลุ่มเป้าหมาย (3) ติดตามประเมินผล (4) สรุปและประเมินผล
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมจากการประเมินโครงการอบรม
- การอบรมดีมาก มีความสุขในการอบรม มีความเข้าใจเรื่องที่อบรม
- ขอบคุณวิทยากร ที่มาให้ความรู้
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3366-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายแพทย์ชุติมันต์ พงศ์ไตรภูมิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่ ”
ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์ชุติมันต์ พงศ์ไตรภูมิ
ธันวาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3366-1-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำดูแลผู้ป่วยจิตเวช
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) เยี่ยมตรวจกลุ่มเป้าหมาย (3) ติดตามประเมินผล (4) สรุปและประเมินผล
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมจากการประเมินโครงการอบรม - การอบรมดีมาก มีความสุขในการอบรม มีความเข้าใจเรื่องที่อบรม - ขอบคุณวิทยากร ที่มาให้ความรู้
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคจิตเวชเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข ทำให้เกิดความพิการและสูญเสียเป็นจำนวนมาก ทั้งนี้เพราะปัญหาไม่ได้ส่งผลกระทบต่อเฉพาะผู้ป่วยเท่านั้น ยังส่งผลกระทบไปถึงญาติ ผู้ดูแลและบุคคลในสังคม ผู้ป่วยจิตเวชมักขาดโอกาสและการสนับสนุนในสังคม ทำให้ตกเป็นเหยื่อในรูปแบบต่าง ๆ หรือเสี่ยงต่อการก่อคดีอุกฉกรรจ์ และยังพบว่าญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วยก็ได้รับผลกระทบด้านสุขภาพ เศรษฐกิจและสังคม เป็นโรคที่ก่อให้เกิดภาระสูงในการดูแล ส่งผลให้ญาติมีความท้อแท้ เบื่อหน่าย หมดความหวังและกำลังใจในการรักษา ผลกระทบในด้านลบทีเกิดขึ้นมีทั้ง ด้านผู้ป่วย ไม่ว่าจะเป็นการปฏิเสธการเจ็บป่วย ขาดการรักษาที่ต่อเนื่อง ไม่ยอมรับประทานยา ด้านผู้ดูแล ไม่มีเวลา ต้องไปประกอบอาชีพทำให้ผู้ป่วยต้องอยู่คนเดียว ขาดทักษะในการดูแลผู้ป่วย มีทัศนคติด้านลบต่อผู้ป่วยจิตเวช คิดว่าเป็นโรคที่รักษาไม่หาย ด้านชุมชน ประกอบด้วย คนในชุมชนหวาดกลัวต่ออาการกำเริบ อาจมีทัศนคติด้านลบต่อผู้ป่วยโรคจิต เพิกเฉย มีความคิดว่าผู้ป่วยต้องอยู่ในโรงพยาบาลเท่านั้น ไม่สามารถอยู่ในชุมชนได้ นอกจากนี้ ผู้ป่วยโรคจิตมักมีการดำเนินโรคเรื้อรัง และกลับเป็นซ้ำบ่อย ซึ่งมีผลกระทบต่อความรุนแรงของอาการมากขึ้น อาการเรื้อรังไม่หายขาด กิจกรรมการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรัง ได้แก่ กิจกรรมการเยี่ยมบ้าน การดูแลให้ได้รับยาต่อเนื่อง การเฝ้าระวังและจัดการปัจจัยกลุ่มเสี่ยงต่อการกำเริบ ส่งเสริมปัจจัยที่ทำให้ญาติและผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เชื่อมโยงข้อมูลในการส่งต่อในกรณีมีภาวะฉุกเฉิน โดยทีมสุมสุขภาพในชุมชน ร่วมกับเครือข่ายชุมชนในการดูแลอำเภอศรีบรรพต ในปีงบประมาณ 2563 มีผู้ป่วยโรคจิต/จิตเภท จำนวน 177 คน มีผู้ป่วยมีอาการกำเริบซ้ำ 12 คน ทำให้เกิดผลกระทบมากมายดังที่กล่าวมาคลินิกสุขภาพจิต กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลศรีบรรพต เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงร่วมกับ รพ.สต.เขาปู่ จัดทำโครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่เพื่อให้เครือข่ายอสม. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคทางจิตเวชเข้าใจแนวทางการดูแลผู้ป่วย และสามารถดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ไม่มีอาการกำเริบซ้ำ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามศักยภาพของตนเองต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างแกนนำดูแลผู้ป่วยจิตเวช
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- เยี่ยมตรวจกลุ่มเป้าหมาย
- ติดตามประเมินผล
- สรุปและประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี และมีทักษะในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวช
- ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลแบบองค์รวมตามมาตรฐานได้รับการรักษาต่อเนื่องและไม่มีอาการกำเริบกลับเป็นซ้ำ
- ผู้ป่วยจิตเวชมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ลดภาระการดูแลของญาติ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู็ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่ ปีงบประมาณ 2564 ได้จัดให้มีการอบรม ในวันที่ 19 ส.ค.65(เลื่อนมาจัดปีงบประมาณ 2565 เนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019) ณ ห้องประชุม รพ.สต. เขาปู่ ตำบลเขาปู่ และมีการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงหรือขาดการรักษาต่อเนื่อง ร่วมกับ รพ.สต.เขาปู๋ แกนนำชุมชน เครือข่าย อสม.และ จนท.จากอบต.เขาปู่ ในวันที่ 26 สิงหาคม 2565 2.มีผู้เข้าร่วมอบรมตามโครงการฯ จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินการอบรม 6 คน ผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 86.67 และทำแบบประเมินความรู้หลังการอบรม จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 ของผู้เข้าร่วมการอบรม ร่วมประเมินผลความพึงพอใจ จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 71.43 ของผู้เข้าร่วมอบรม
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างแกนนำดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตัวชี้วัด : -ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องโรคทางจิตเวชและแนวทางการดูแล ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 -ผู้เข้ารับการอบรม มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วยจิตเวช ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 -ผู้เข้ารับการอบรมสามารถคัดกรองโรคจิต และคัดกรองซึมเศร้าเบื้องต้นได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
0.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 51 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำดูแลผู้ป่วยจิตเวช
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) เยี่ยมตรวจกลุ่มเป้าหมาย (3) ติดตามประเมินผล (4) สรุปและประเมินผล
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมจากการประเมินโครงการอบรม - การอบรมดีมาก มีความสุขในการอบรม มีความเข้าใจเรื่องที่อบรม - ขอบคุณวิทยากร ที่มาให้ความรู้
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบลเขาปู่ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 64-L3366-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายแพทย์ชุติมันต์ พงศ์ไตรภูมิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......