กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อบรมให้ความรู้เฝ้าระวังและแก้ปัญหาการบริโภค
รหัสโครงการ 64-L3318-02-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลควนขนุน
วันที่อนุมัติ 25 กุมภาพันธ์ 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 กรกฎาคม 2564 - 16 กรกฎาคม 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 16 สิงหาคม 2564
งบประมาณ 13,028.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายจินดา แสงขาว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 16 ก.ค. 2564 16 ก.ค. 2564 13,028.00
รวมงบประมาณ 13,028.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 144 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้เล็งเห็นความสำคัญของเด็กที่อยู่ในวัยเรียนซึ่งเป็นผู้สื่อสารไปยังเพื่อนนักเรียนครอบครัวและชุมชนตลอดจนร่วมเป็นหูเป็นตาให้อย.น้อยโดยการตรวจสอบเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพตลอดจนโฆษณาที่โอ้อวดเกินจริง เพื่อให้นักเรียนสมาชิกอย.น้อยมีส่วนร่วมในการช่วยกันตรวจสอบและเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพประกอบกับอย.น้อยจะมีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันทำหน้าที่ทำให้การทำงานบางครั้งไม่ต่อเนื่องเพราะการขาดความรู้และทักษะที่จะนำไปปฏิบัติดังนั้นกลุ่มบริหารงานทั่วไป / งานอนามัยโรงเรียนโรงเรียนอนุบาลควนขนุนได้กระตือรือร้นในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์และเป็นผู้มีศักยภาพในตัวเองสามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานที่ดีอย่างได้ผลจึงได้จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาการบริโภค โดยนำศักยภาพของนักเรียนมาใช้เพื่อให้กลุ่มนักเรียนอย.น้อยมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับการจัดอบรมอย.น้อยในโรงเรียนเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพให้แก่ อย.น้อยและช่วยให้โรงเรียนตลอดจนในชุมชนได้รับความปลอดภัยจากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. ให้นักเรียนกลุ่ม อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องผลิตภัณฑ์ สามารถเลือกซื้อหรือเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว

1.ร้อยละของ นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน

30.00 70.00
2 2. เพื่อให้นักเรียนนำกิจกรรม อย.น้อย ไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน

2.  นักเรียนมีอนามัย  สุขภาพร่างกายแข็งแรงตามหลักสุขบัญญัติ  10  ประการ

10.00 70.00
3 3 เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู พ่อค้า ผู้ปกครองและบุคลากรภายในโรงเรียนและชุมชนในเรื่องการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน

3.  นักเรียนมีสุขภาพกาย  สุขภาพจิตที่ดี  ร่าเริง  แจ่มใส  มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน  ครูและผู้อื่น

50.00 80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 144 13,028.00 0 0.00
16 ก.ค. 64 อบรมให้ความรู้เฝ้าระวังและแก้ใขปัญหาการบริโภค 144 13,028.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และชุมชนได้รับความรู้ความข้าใจและมีทัศนคติต่อการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย 2.สมาชิกของกลุ่มมีความตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียนและชุมชนใกล้เคียง 3.สมาชิกแกนนำสามารถตรวจวิเคราะห์อาหาร อย่างน้อยเรื่องสารบอแรกช์สารฟอกขาวฟอร์มาลินได้
  2. นักเรียน ครู ผู้ประกอบการ ผู้ปกครอง และบุคลากรในโรงเรียน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 มี.ค. 2564 13:31 น.