กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. ให้นักเรียนกลุ่ม อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องผลิตภัณฑ์ สามารถเลือกซื้อหรือเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของ นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน
30.00 70.00

 

 

 

2 2. เพื่อให้นักเรียนนำกิจกรรม อย.น้อย ไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนมีอนามัย สุขภาพร่างกายแข็งแรงตามหลักสุขบัญญัติ 10 ประการ
10.00 70.00

 

 

 

3 3 เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู พ่อค้า ผู้ปกครองและบุคลากรภายในโรงเรียนและชุมชนในเรื่องการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : 3. นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ร่าเริง แจ่มใส มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครูและผู้อื่น
50.00 80.00