กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ให้นักเรียนกลุ่ม อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องผลิตภัณฑ์ สามารถเลือกซื้อหรือเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของ นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน
30.00 70.00

 

2 2. เพื่อให้นักเรียนนำกิจกรรม อย.น้อย ไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนมีอนามัย สุขภาพร่างกายแข็งแรงตามหลักสุขบัญญัติ 10 ประการ
10.00 70.00

 

3 3 เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู พ่อค้า ผู้ปกครองและบุคลากรภายในโรงเรียนและชุมชนในเรื่องการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : 3. นักเรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ร่าเริง แจ่มใส มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครูและผู้อื่น
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 144
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 144
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ให้นักเรียนกลุ่ม อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจเรื่องผลิตภัณฑ์ สามารถเลือกซื้อหรือเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียนและครอบครัว (2) 2. เพื่อให้นักเรียนนำกิจกรรม  อย.น้อย  ไปพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพในโรงเรียน (3) 3  เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม  อย.น้อย  ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง  ส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน  ครู  พ่อค้า  ผู้ปกครองและบุคลากรภายในโรงเรียนและชุมชนในเรื่องการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เฝ้าระวังและแก้ใขปัญหาการบริโภค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh