กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อคนไทยไร้พุง ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
น.ส.วิทิตา วิจะสิขะ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อคนไทยไร้พุง

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L-5192-1-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อคนไทยไร้พุง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อคนไทยไร้พุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อคนไทยไร้พุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L-5192-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ในปัจจุบันความทันสมัยของเทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากขึ้น ส่งผลให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดโรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม มีอัตราอุบัติการณ์การเกิดโรคเพิ่มสูงขึ้น ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น จากรายงานผลการสำรวจภาวะสุขภาพของคนไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ในปี 2547 - 2549 ของกระทรวงสาธารณสุข พบอัตราความชุกของโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 22 (ประมาณ 10.1 ล้านคน) อัตราความชุกของโรคในผู้ชาย ร้อยละ 36 ในผู้หญิงร้อยละ 34 ส่วนอัตราความชุกของโรคเบาหวาน ร้อยละ 6.9 (ประมาณ 3.2 ล้านคน) อัตราความชุกของโรคในผู้ชาย ร้อยละ 11.4 ในผู้หญิง ร้อยละ 12.4 กลุ่มประชากร อายุ 45 - 59 ปี เป็นกลุ่มที่เริ่มพบภาวการณ์เกิดโรค ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ และยังพบภาวะไขมันในเส้นเลือดสูงในผู้ชาย ร้อยละ 20 และในผู้หญิง ร้อยละ 28 จากหลักฐานทางวิชาการ พบว่า การลดน้ำหนัก ร้อยละ 5 - 10 ของน้ำหนักตัว ก็จะช่วยลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดจากภาวะอ้วนได้ และถ้าสามารถลดขนาดของรอบเอวได้ทุกๆ 5 เซนติเมตร จะสามารถลดโอกาสการเกิดโรคเบาหวานได้ 3 - 5 เท่า ผลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ประจำปีงบประมาณ 2559 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพล พบว่า มีผู้ที่มีภาวะอ้วนลงพุง ร้อยละ 20 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ซึ่งควรมีการดูแลช่วยเหลือเพื่อป้องกันการเกิดโรคอย่างเร่งด่วน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำไพลจึงเห็นควรจัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อคนลำไพลไร้พุงขึ้น เพื่อให้ประชาชนและกลุ่มเป้าหมายได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถเข้าถึงหน่วยบริการได้สะดวกและเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปทางที่เหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ประชาชนเกิดความตระหนัก ตื่นตัวและเกิดการรับรู้ที่ถูกต้องในการป้องกันภาวะอ้วนลงพุง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน อัมพฤกษ์ อัมพาต 2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรค ได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง 3.มีการสร้างบุคคลต้นแบบในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ไวนิลประชาสัมพันธ์

    วันที่ 25 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ 1 แผ่น

     

    0 0

    2. 2.2 กิจกรรมมอบประกาศนียบัตรให้แก่กลุ่มเสี่ยงผู้ที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้

    วันที่ 25 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าประกาศนียบัตรพร้อมกรอบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มอบประกาศนียบัตรพร้อมกรอบให้แก่ผู้ที่ผ่านการอบรม

     

    50 0

    3. ติดตามผู้เข้ารับการอบรม เรื่อง วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัด3อ 2ส

    วันที่ 28 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมสุขภาพออกติดตามผู้เข้ารับการอบรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าพาหนะเหมาจ่ายในการติดตามผู้ป่วย จำนวน 10 คนๆละ 100 บาท จำนวน 5ครั้ง

     

    50 0

    4. 2.1 กิจกรรมอบรม เรื่อง วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยหลัก 3อ.2ส.

    วันที่ 29 กันยายน 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดอบรมสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม คณะทำงานและวิทยากร จำนวน 60 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    • ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน คนละ 3 ชั่วโมงชั่วโมงละ 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
    • ค่าวัสดุ / อุปกรณ์ในการอบรม / คู่มือการดูแลตนเอง เป็นเงิน 5,000 บาท

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อบรมให้ความรู้เรื่อง วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยหลัก 3อ.2ส.

     

    60 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ร้อยละ 80
    2. กลุ่มเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 80
    3. อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ลดลงร้อยละ 5
    4. กลุ่มเสี่ยงที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ สามารถเป็นแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อคนไทยไร้พุง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L-5192-1-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( น.ส.วิทิตา วิจะสิขะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด