กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการชุมชนร่วมใจส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโลย


“ โครงการชุมชนร่วมใจส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ”

ตำบลตันหยงจึงงา อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางนัสรียา สะอุ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ที่อยู่ ตำบลตันหยงจึงงา อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3044-1-03 เลขที่ข้อตกลง 9/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 มีนาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงจึงงา อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโลย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงจึงงา อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 64-L3044-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 พฤษภาคม 2564 - 31 มีนาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโลย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลกไร้พรมแดนในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ผลิตภัณฑ์สุขภาพทั้งในและนอกประเทศ สามารถเข้าถึงยังผู้บริโภคในทุกระดับได้อย่างง่าย ทั้งชุมชนเมืองไปจนกระทั่งเขตชนบท การสื่อสารมวลชนเข้ามามีบทบาทอย่างมากในกระบวนการตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ จะยิ่งส่งเสริมการบริโภคในสังคมอย่างมาก ทำให้ผู้บริโภคเกิดความต้องการที่จะบริโภคเกินกว่าความต้องการที่แท้จริง ไม่ว่าจะเป็นการบริโภคอาหารหรือยาอย่างฟุ่มเฟือย ทำให้มูลค่าการใช้ยาของประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น จากการดำเนินงานคบส. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ปี 2563 พบปัญหาเกี่ยวกับการใช้ยาดังนี้ 1.การใช้ยากลุ่ม NSAID ร่วมกับยากลุ่มแก้ปวด ลดไข้ 2.มีการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่ถูกต้อง เช่น ในโรคทางเดินหายใจที่ไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อเช่น ไข้หวัด ,อาการถ่ายเหลวที่ไม่มีการติดเชื้อ ,ใช้ยาปฏิชีวนะไม่ครบตามแผนการรักษาเป็นต้น 3.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีการใช้ยาหรืออาหารเสริมแทนยาแผนปัจจุบัน เนื่องจากมีความเชื่อว่ากินยาแผนปัจจุบันเยอะๆจะทำให้เป็นโรคไต
      โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการชุมชนร่วมใจส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU)และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยใช้ชุมชนเป็นฐานและเน้นการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ซึ่งครอบคลุมประเด็นการใช้ยาปฏิชีวนะ ยาชุดและการใช้ยาสเตียรอยด์ โดยไม่จำเป็น เพื่อให้คนในชุมชนมีการพัฒนาการจัดการเรื่องยาให้สมเหตุสมผลและปลอดภัยในระยะยาวต่อไป ดังสโลแกนงาน คบส. “ผู้บริโภค  ยุคใหม่ รู้ซื้อ รู้ใช้ รู้ระวังภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพในชุมชน”

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
  2. เพื่อให้คนในตำบลตันหยงจึงงา มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุและสมผล
  3. เพื่อให้คนในตำบลตันหยงจึงงา ร่วมกันเฝ้าระวัง ตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการลักลอบขายยาปฏิชีวนะและยาสเตียรอยด์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน ให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการจัดการอาหารและยาในชุมชน และกำหนดข้อตกลงในชุมชน
  2. การปรับระบบ กลไก 1.การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเรื่องการจัดการอาหารในชุมชน 2.การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร 3.การจัดตั้งชมรม กลุ่ม เครือข่ายต่างๆ ในชุมชนเพื่อการจัดการอาหาร
  3. การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ร้านค้า 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คนในตำบลตันหยงจึงงา มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้ง ยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุและสมผลเพิ่มขึ้น
  2. คนในตำบลตันหยงจึงงา ร่วมกันเฝ้าระวัง ตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการลักลอบขายยาปฏิชีวนะและยาสเตียรอยด์
  3. ผู้ประกอบการร้านชำและประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านคุ้มครองผู้บริโภค
  4. ร้านชำในตำบลมีคุณภาพปลอดยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพอันตราย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน ให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการจัดการอาหารและยาในชุมชน และกำหนดข้อตกลงในชุมชน

วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการคุ้มครองผู้บริโภคเชื่อมโยงร้านชำคุณภาพ รวมถึงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล แก่ผู้ประกอบการร้านชำ , อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ตัวแทนผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ประชาชนที่สนใจ จำนวน 50 คน ค่าวัสดุ       - ค่าอาหารกลางวัน  จำนวน  80คนๆละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ                                              เป็นเงิน  4,000.-บาท       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 80 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ                                    เป็นเงิน  2,000.-บาท
      - ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1 x 2 เมตร ตารางเมตรละ 250 บาท  จำนวน 4 แผ่น    เป็นเงิน  2,000.-บาท
      - ค่าวัสดุอุปกรณ์                                                                                                        เป็นเงิน  700.-บาท                                                             รวมเป็นเงิน  8,700  บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ครัวเรือนมีการใช้ยาปฏิชีวนะ  ยาชุด และยาหกลุ่มสเตียรอยด์ลดลง ร้อยละ 97.0

 

0 0

2. การปรับระบบ กลไก 1.การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเรื่องการจัดการอาหารในชุมชน 2.การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร 3.การจัดตั้งชมรม กลุ่ม เครือข่ายต่างๆ ในชุมชนเพื่อการจัดการอาหาร

วันที่ 1 เมษายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เยี่ยมบ้านผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรัง จำนวน 30 คน และให้คำแนะนำเรื่องการใช้ยา - ค่าอาหารกลางวัน    จำนวน 30  คนๆละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ    เป็นเงิน 1,500.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พบมีผู้ป่วยใช้ยาบำรุงที่มาฉลากยาไม่สมบูรณ์ 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.33

 

0 0

3. การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน

วันที่ 1 มิถุนายน 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สุ่มตรวจร้านชำในตำบลตันหยงจึงงา จำนวน 10 ร้าน และให้คำแนะนำ - ค่าอาหารกลางวัน    จำนวน 30 คนๆละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ    เป็นเงิน 1,500.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้านชำ ร้านค้า ไม่มีการนำยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาสเตียรอยด์มาขายในชุมชน ร้อยละ 99.56

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ
30.00 10.00

 

2 เพื่อให้คนในตำบลตันหยงจึงงา มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุและสมผล
ตัวชี้วัด : ร้อยละการใช้ยาปฎิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันลดลง
4.52 0.00

 

3 เพื่อให้คนในตำบลตันหยงจึงงา ร่วมกันเฝ้าระวัง ตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการลักลอบขายยาปฏิชีวนะและยาสเตียรอยด์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านค้า ร้านชำ ที่มีการนำยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาสเตียรอยด์ มาขายในชุมชน
20.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ร้านค้า 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร (2) เพื่อให้คนในตำบลตันหยงจึงงา มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุและสมผล (3) เพื่อให้คนในตำบลตันหยงจึงงา ร่วมกันเฝ้าระวัง ตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการลักลอบขายยาปฏิชีวนะและยาสเตียรอยด์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน ให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการจัดการอาหารและยาในชุมชน และกำหนดข้อตกลงในชุมชน (2) การปรับระบบ กลไก 1.การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเรื่องการจัดการอาหารในชุมชน 2.การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร 3.การจัดตั้งชมรม กลุ่ม เครือข่ายต่างๆ ในชุมชนเพื่อการจัดการอาหาร (3) การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 64-L3044-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนัสรียา สะอุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด