กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง


“ โครงการพัฒนาชุมชนคนวัดดุลยาราม ด้วยนวัตกรรมการออกกำลังกายโดยการใช้ผ้าถุง (ปาเต๊ะ) ปี 2560 ”

ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางจุฑารัตน์ แก้วหนูนวล

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาชุมชนคนวัดดุลยาราม ด้วยนวัตกรรมการออกกำลังกายโดยการใช้ผ้าถุง (ปาเต๊ะ) ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L7580-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาชุมชนคนวัดดุลยาราม ด้วยนวัตกรรมการออกกำลังกายโดยการใช้ผ้าถุง (ปาเต๊ะ) ปี 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาชุมชนคนวัดดุลยาราม ด้วยนวัตกรรมการออกกำลังกายโดยการใช้ผ้าถุง (ปาเต๊ะ) ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาชุมชนคนวัดดุลยาราม ด้วยนวัตกรรมการออกกำลังกายโดยการใช้ผ้าถุง (ปาเต๊ะ) ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L7580-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดนโยบายให้มีการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐานชุมชน โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุขเป็นผู้ปฏิบัติดูแลส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังสุขภาพของประชาชนในชุมชน ซึ่งในระยะเวลาที่ผ่านมา การดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามยังประสบปัญหาต่างๆ หลายอย่าง ไม่สามารถดำเนินงานให้ประชาชนในชุมชนบรรลุเป้าหมายของการมีสุขภาพดี ถ้วนหน้าได้ สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา การมีสุขภาพที่ดีมิได้หมายถึงเพียงการมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพเท่านั้น ต้องขึ้นอยู่กับประชาชนรู้จักการดูแลสุขภาพของตนเอง เพื่อให้มีสุขภาพดีร่างกายแข็งแรงอยู่เสมอ ซึ่งในปัจจุบันโรคส่วนใหญ่สามารถป้องกันได้ด้วยการสร้างภูมิคุ้มกัน โดยการมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เป็นการสร้างความทนทานของกล้ามเนื้อและเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้กับระบบต่างๆภายในร่างกาย ทำให้ร่างกายทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดีกว่าการรอให้เกิดการเจ็บป่วยแล้วรักษา จะทำให้สิ้นเปลืองทรัพยากรและงบประมาณเป็นจำนวนมาก
จากการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามพบว่า มีประชาชนในชุมชนบางส่วนไม่มีเวลา หรือไม่สามารถออกมาร่วมออกกำลังกายกับกลุ่มชมรม หรือมาออกกำลังกายนอกบ้านได้ ประกอบกับอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามที่รับผิดชอบยังขาดวิสัยทัศน์ ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับคนแต่ละกลุ่ม ทำให้ไม่สามารถส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายได้อย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาชุมชนคนวัดดุลยาราม ด้วยนวัตกรรมการออกกำลังกายโดยการใช้ผ้าถุง (ปาเต๊ะ) ปี 2560 โดยจะจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มติดบ้านออกกำลังกายได้อย่างสม่ำเสมอ ด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ ซึ่งเป็นผ้าที่มีทุกบ้านอนึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจะส่งผลประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ มีสุขภาพดีถ้วนหน้าต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามให้มีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ
  2. เพื่อปรับวิสัยทัศน์และทัศนะคติของอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามในการ ออกกำลังกายให้ใช้อุปกรณ์ออกกำลังกายใกล้ตัว เช่น ด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ
  3. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามถ่ายทอดความรู้การออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะให้กับประชาชนกลุ่มติดบ้านหรือประชาชนที่ไม่มีเวลามาออกกำลังกาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 16
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามได้รับการพัฒนาศักยภาพทำให้มีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ

    2.อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามมีวิสัยทัศน์และทัศนะคติที่ดีในการออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ

    3.อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามถ่ายทอดความรู้การออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะให้กับประชาชนกลุ่มติดบ้านหรือประชาชนที่ไม่มีเวลามาออกกำลังกาย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพโดยการให้ความรู้และทักษะในการออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะแก่อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน วัดดุลยาราม

    วันที่ 18 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประเมินความรู้ก่อนการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 16 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลางจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 การประเมินความรู้หลังการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 16 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลาง จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 31.25 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดีมาก จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 31.25 การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 100

     

    16 16

    2. ถ่ายทอดความรู้การออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะให้กับประชาชนกลุ่มติดบ้านหรือประชาชนที่ไม่มีเวลามาออกกำลังกาย

    วันที่ 5 กันยายน 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อสม.ได้ถ่ายทอดการออกกำลังกายด้วยนวัตกรรมผ้าถุงให้แก่ประชาชนกลุ่มติดบ้านหรือประชาชนที่ไม่มีเวลามาออกกำลังกายได้ครบตามจำนวน 30 คน

     

    30 30

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    การประเมินความรู้ก่อนการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 16 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลางจำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5
    การประเมินความรู้หลังการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 16 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลาง จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 31.25 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 37.5 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดีมาก จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 31.25
    การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 100
    การประเมินจากจำนวนประชาชนกลุ่มติดบ้านหรือประชาชนที่ไม่มีเวลามาออกกำลังกาย อสม.ได้ถ่ายทอดการออกกำลังกายด้วยนวัตกรรมผ้าถุง ได้ครบตามจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามให้มีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามได้รับการพัฒนาศักยภาพทำให้มีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อปรับวิสัยทัศน์และทัศนะคติของอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามในการ ออกกำลังกายให้ใช้อุปกรณ์ออกกำลังกายใกล้ตัว เช่น ด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามมีวิสัยทัศน์และทัศนะคติที่ดีในการออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ ร้อยละ 80

     

    3 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามถ่ายทอดความรู้การออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะให้กับประชาชนกลุ่มติดบ้านหรือประชาชนที่ไม่มีเวลามาออกกำลังกาย
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามถ่ายทอดความรู้การออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะให้กับประชาชนกลุ่มติดบ้านหรือประชาชนที่ไม่มีเวลามาออกกำลังกาย ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 46
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 16
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามให้มีความรู้และทักษะในการออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ (2) เพื่อปรับวิสัยทัศน์และทัศนะคติของอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามในการ ออกกำลังกายให้ใช้อุปกรณ์ออกกำลังกายใกล้ตัว เช่น ด้วยการใช้นวัตกรรมการออกกำลังกายด้วยผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะ (3) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนวัดดุลยารามถ่ายทอดความรู้การออกกำลังกายด้วยการใช้นวัตกรรมผ้าถุงหรือผ้าปาเต๊ะให้กับประชาชนกลุ่มติดบ้านหรือประชาชนที่ไม่มีเวลามาออกกำลังกาย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาชุมชนคนวัดดุลยาราม ด้วยนวัตกรรมการออกกำลังกายโดยการใช้ผ้าถุง (ปาเต๊ะ) ปี 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L7580-2-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจุฑารัตน์ แก้วหนูนวล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด