กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และแกนนำครอบครัว ด้านการป้องกันโรคไม่ติดต่อ(ความดัน-เบาหวาน)ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และแกนนำครอบครัว ด้านการป้องกันโรคไม่ติดต่อ(ความดัน-เบาหวาน)ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางยาวาเรียะ มะมนัง




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และแกนนำครอบครัว ด้านการป้องกันโรคไม่ติดต่อ(ความดัน-เบาหวาน)ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L7580-2-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และแกนนำครอบครัว ด้านการป้องกันโรคไม่ติดต่อ(ความดัน-เบาหวาน)ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และแกนนำครอบครัว ด้านการป้องกันโรคไม่ติดต่อ(ความดัน-เบาหวาน)ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และแกนนำครอบครัว ด้านการป้องกันโรคไม่ติดต่อ(ความดัน-เบาหวาน)ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L7580-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเป็นปัญหาสำคัญระดับโลก ซึ่งส่งผลคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน และการพัฒนาประเทศ จากรายงานองค์อนามัยโลกจะมีผู้เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อประมาณ 36 ล้านคน (ร้อยละ 63) โดยประมาณร้อยละ 44 เสียชีวิต ก่อนอายุ 70 ปี สำหรับประเทศไทยถึงแม้จะมีแผนงานที่ดำเนินการเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ คือ โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ, โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง แต่การจัดการโรคโรคไม่ติดต่อยังไม่ได้ผลเท่าที่ควร มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เปรียบเทียบปี พ.ศ.2554 – 2557 เท่ากับร้อยละ 22.47, 23.45, 26.71 และ 27.73 ตามลำดับ เพราะเป็นโรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรม อนามัยส่วนบุคคลไม่ถูกต้อง ปัญหาความเครียด เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดี ทำให้รายรับไม่พอกับรายจ่าย มีปัญหาครอบครัว ปัญหาส่วนตัว และปัญหาในการทำงาน เป็นต้น ซึ่งเมื่อป่วยเป็นโรคนี้ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถควบคุมและป้องกันได้ ถ้ามีการปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องและยังเป็นสาเหตุทำให้เกิดความผิดปกติของอวัยวะที่สำคัญ เช่น หัวใจ, ไต, ประสาทตา ซึ่งส่งผลทำให้เกิดโรคกับบุคคลในครอบครัว วิตก กังวล และรับภาระการดูแลผู้ป่วย ผลกระทบต่อชุมชนในกรณีที่มีผู้ป่วย พิการ ทำให้ชุมชนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศด้วย จากการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ ตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล พบว่ามีกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังดังกล่าว จำนวน 115 คน จากประชากรในชุมชน จำนวน 483 คิดเป็นร้อยละ 75.65 สาเหตุเกิดจากกรรมพันธุ์และพฤติกรรมของประชาชน เสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบกับระบบการป้องกันดูแลเชิงรุกของอาสาสมัครสาธารณสุข ยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากอาสาสมัครสาธารณสุขยังขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกัน ควบคุม รักษาและการคัดกรองเฝ้าระวังโรค โรคเรื้อรัง และทดการมีส่วนร่วมของชุมชน ครอบครัว ในการดูแลสุขภาพของกันและกัน ทางชุมชนจึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัวด้วยการป้องกันโรคไม่ติดต่อ ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้อาสาสมัครและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกัน ควบคุมรักษาและการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ (ความดัน-เบาหวาน) อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้อาสาสมัครและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เกิดความตระหนักในการมีส่วนร่วมในการดูแลและป้องกัน ควบคุมรักษาและการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ (ความดัน-เบาหวาน) อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อให้อาสาสมัครและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ นำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพของประชาชน ครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    • อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกัน ควบคุมและรักษาโรคไม่ติดต่ออย่างถูกต้อง

    • อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เกิดความตระหนักในการมีส่วนการดูแล ป้องกัน ควบคุมและเฝ้าระวัง คัดกรองโรคไม่ติดต่อของประชาชน ครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์

    • อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ นำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องโรคความดัน-เบาหวาน ตรวจวัดความดัน แผนผังครัวญาติ เจาะเลือด วัดความดัน

    วันที่ 22 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.1 การประเมินความรู้ก่อนการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 30 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลางจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดีมาก จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 43.33การประเมินความรู้หลังการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 30 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลาง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดีมาก จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67
    1.2 การประเมินการทำแผนผังเครือญาติ เพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปรากฏว่ากลุ่มเป้าหมายสามารถทำแผนผังเครือญาติและทราบถึงบุคคลในครัวเรือนที่ทำผังเครือญาติที่มีความเสี่ยงต่อโรคดังกล่าวในเขตรับผิดชอบของตนเองและภาพรวมของชุมชน ทำให้การดำเนินงานควบคุมโรคมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้และทักษะไปถ่ายทอดให้กลุ่มเสี่ยงได้อย่งมีประสิทธิภาพ
    1.3 การประเมินความพึงพอใจของการจัดการอบรม ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 92 และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 8 เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายต้องการให้เพิ่มระยะเวลาในการจัดอบรม1.3 การประเมินการตรวจวัดความดัน-เบาหวาน โดยใช้เครื่องวัดความดันและเครื่องมือการเจาะเลือดตรวจหาระดับน้ำตาล พร้อมทั้งให้ความรู้ในการใช้ทักษะการตรวจสายตา การตรวจเท้า และการหาค่า BMI พบว่าภาพรวมกลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการตรวจวัดความดัน-เบาหวาน การตรวจสายตา การตรวจเท้า และการหาค่า BMI เพิ่มขึ้น
    1.4 การประเมินความพึงพอใจของการจัดการอบรม ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 92 และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 8 เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายต้องการให้เพิ่มระยะเวลาในการจัดอบรม

     

    30 30

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.1 การประเมินความรู้ก่อนการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 30 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลางจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดีมาก จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 43.33 การประเมินความรู้หลังการอบรมให้ความรู้ มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน 30 คน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับปานกลาง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20  และกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ระดับดีมาก จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67
    1.2 การประเมินการทำแผนผังเครือญาติ เพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ปรากฏว่ากลุ่มเป้าหมายสามารถทำแผนผังเครือญาติและทราบถึงบุคคลในครัวเรือนที่ทำผังเครือญาติที่มีความเสี่ยงต่อโรคดังกล่าวในเขตรับผิดชอบของตนเองและภาพรวมของชุมชน ทำให้การดำเนินงานควบคุมโรคมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น กลุ่มเป้าหมายได้นำความรู้และทักษะไปถ่ายทอดให้กลุ่มเสี่ยงได้อย่งมีประสิทธิภาพ
    1.3 การประเมินการตรวจวัดความดัน-เบาหวาน โดยใช้เครื่องวัดความดันและเครื่องมือการเจาะเลือดตรวจหาระดับน้ำตาล พร้อมทั้งให้ความรู้ในการใช้ทักษะการตรวจสายตา การตรวจเท้า และการหาค่า BMI พบว่าภาพรวมกลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการตรวจวัดความดัน-เบาหวาน การตรวจสายตา การตรวจเท้า และการหาค่า BMI เพิ่มขึ้น

    1.4 การประเมินความพึงพอใจของการจัดการอบรม ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 92 และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 8 เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายต้องการให้เพิ่มระยะเวลาในการจัดอบรม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้อาสาสมัครและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกัน ควบคุมรักษาและการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ (ความดัน-เบาหวาน) อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกัน ควบคุมและรักษาโรคไม่ติดต่ออย่างถูกต้อง ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้อาสาสมัครและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เกิดความตระหนักในการมีส่วนร่วมในการดูแลและป้องกัน ควบคุมรักษาและการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ (ความดัน-เบาหวาน) อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เกิดความตระหนักในการมีส่วนการดูแล ป้องกัน ควบคุมและเฝ้าระวัง คัดกรองโรคไม่ติดต่อของประชาชน ครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ ร้อยละ 80

     

    3 เพื่อให้อาสาสมัครและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ นำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพของประชาชน ครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : อาสาสมัครสาธารณสุขและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ นำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 30
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อาสาสมัครและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ มีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกัน ควบคุมรักษาและการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ (ความดัน-เบาหวาน) อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้อาสาสมัครและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เกิดความตระหนักในการมีส่วนร่วมในการดูแลและป้องกัน ควบคุมรักษาและการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อ (ความดัน-เบาหวาน) อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้อาสาสมัครและแกนนำครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ นำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพของประชาชน ครอบครัว ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) และแกนนำครอบครัว ด้านการป้องกันโรคไม่ติดต่อ(ความดัน-เบาหวาน)ชุมชนชุมสายโทรศัพท์ เทศบาลตำบลฉลุง อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L7580-2-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางยาวาเรียะ มะมนัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด