กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลศาลาใหม่ ปี 2564 ”

ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
น.ส.อัสมา แวอารง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลศาลาใหม่ ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2487-1-07 เลขที่ข้อตกลง 09/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง 5 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลศาลาใหม่ ปี 2564 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลศาลาใหม่ ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลศาลาใหม่ ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2487-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2564 - 5 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทยเป็นศาสตร์ทางการแพทย์แขนงหนึ่งที่เป็นลักษณะแนวสุขภาพแบบองค์รวม โดยองค์ความรู้ที่ใช้จะเป็นองค์ความรู้ที่สั่งสมกันมาแต่ในอดีตบวกกับการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในปัจจุบัน หรือที่เราได้ยินว่า การแพทย์แผนไทยประยุกต์ เพื่อมาดูแลสุขภาพ โดยส่วนใหญ่แล้วศาสตร์การแพทย์แผนไทย เราจะมาใช้ในแง่สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค หรือการฟื้นฟู (http://www.si.mahidol.ac.th) เพื่อช่วยให้คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ในสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัยและเอื้ออาทรกัน จึงควรส่งเสริมให้มีการปลูกพืชสมุนไพรพื้นบ้านเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสุขภาพ ส่วนประกอบของสารอาหารและสรรพคุณทางยาในพืช ผัก และผลไม้พื้นบ้านต่างๆ เราสามารถรู้ได้จากการศึกษาวิจัยทางเภสัชโภชนาว่ามีสรรพคุณอย่างไร และเมื่อนำไปใช้แล้วก็ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้ด้วยสรรพคุณของพืชผักพื้นบ้านหลายชนิดจะช่วยบำรุงและฟื้นฟูสภาพแวดล้อม ทำให้ในชุมชมมีความเอื้ออาทรต่อกัน เกิดการสร้างสรรค์ มีความมั่นคงแข็งแรงขึ้น ในชุมชนจึงควรนำความเป็นวิทยาศาสตร์ของพืชผักพื้นบ้านมาส่งเสริมสุขภาพโดยรวมของชุมชนด้วย สมุนไพรกับขอบเขตของวิทยาศาสตร์เพื่อส่งเสริมสุขภาพชุมชน เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดต่อสุขภาพทางกายและจิตใจของคนในชุมชน จึงควรมีการส่งเสริมการปลูกพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสรรพคุณทางยาขึ้น เช่น ในบ้านก็มีการปลูกพืชผักสวนครัวพื้นบ้าน ไม้มงคลเอาไว้ หรือตามสถานที่ต่างๆ ในชุมชนก็ปลูกพืช ผัก ผลไม้ที่ใช้ประกอบอาหารได้ พืชที่รักษาสภาพแวดล้อมหรือพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้ทั้งทางตรงและทางอ้อมให้กับชุมชน เพื่อให้ได้คุณค่าทางโภชนาการและทางสรรพคุณทางยาแก่สุขภาพร่างกายและจิตใจให้มากที่สุด ในชุมชนจึงควรส่งเสริมให้มีการใช้พืช ผัก และผลไม้ต่างๆ เพื่อประกอบอาหารอย่างถูกวิธี ส่งเสริมสุขภาพทางจิตใจด้วยการส่งเสริมให้มีการสกัดและใช้น้ำมันระเหยจากพืชสมุนไพรต่างๆ (http://www.healthcarethai.com) ในปี 2563 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ พบจากทะเบียนรักษาผู้ป่วยนอก พบผู้ป่วยมาด้วยอาการปวดเมื่อย และปวดกล้ามเนื้อ จำนวน 430 คน คิดเป็นร้อยละ 6.78 ของผู้ป่วยนอกทั้งหมด (6,342 คน) มารับบริการจำนวน 638 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 10.1 ของผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งปี (16,430 ครั้ง) และพบว่าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคโรคเรื้อรัง รวมไปถึงกลุ่มเสี่ยง ต้องได้รับการการส่งเสริมสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และป้องกันโรคด้วยตัวเอง การใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพ เช่น การปลูกสมุนไพรกินเอง ถือเป็นการดูแลสุขภาพที่ยั่งยืน ลดปัญหาสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย ที่อาจส่งผลต่อภาวะแทรกซ้อนต่างๆและโรคมะเร็งอื่นๆ ได้ในอนาคต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ได้จัดโครงการนี้ขึ้น ในการจัดระบบริการแบบใหม่ การส่งเสริมการปลูกสมุนไพรกินเอง การปรับประยุกต์ใช้หลักสูตรด้านอาหารพื้นบ้านและแพทย์แผนไทยหรือประเพณีพื้นบ้าน การฝึกทักษะการปรุง การใช้ตำรับอาหารพื้นบ้านที่เป็นยา อาหารเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ รวมไปถึงการพัฒนาสูตรอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลรักษาสุขภาพ
  2. 2. เพื่อลดการใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยนอกลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ และสาธิตการทำยาสมุนไพรในการรักษาบรรเทาโรค
  2. กิจกรรมการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ และสาธิตการทำยาสมุนไพรในการรักษาบรรเทาโรค (ลูกประคบ)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรังด้วยแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกมากขึ้น
  2. ลดการจ่ายยาแก้ปวด และยากลุ่มต้านอาการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (Nonsteroidal Anti-Inflammatory Drugs: NSAIDs) ในกลุ่มผู้ป่วยนอกที่มารับบริการด้วยอาการปวดเมื่อย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ และสาธิตการทำยาสมุนไพรในการรักษาบรรเทาโรค (ลูกประคบ)

วันที่ 25 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมรุ่นที่ 1 วันที่ 30 สิงหาคม 2565 หมู่ 7 บ้านคลองเลย จำนวน 50 ราย อบรมรุ่นที่ 2 วันที่ 31 สิงหาคม 2565 หมู่ 1 บ้านโคกมะเฟือง จำนวน 60 ราย อบรมรุ่นที่ 3 วันที่ 1 กันยายน 2565 หมู่ 5 บ้านปูลาเจ๊ะมูดอ จำนวน 50 ราย อบรมรุ่นที่ 4 วันที่ 2 กันยายน 2565 หมู่ 2 บ้านตะปัง จำนวน 50 ราย อบรมรุ่นที่ 5 วันที่ 3 กันยายน 2565 หมู่ 3 บ้านศาลาใหม่ จำนวน 50 ราย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลดอัตราการใช้ยาแก้ปวด และใช้กลุ่มยาต้านาอาการอักเสบ

 

250 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลรักษาสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ และสาธิตการทำยาสมุนไพรในการรักษาบรรเทาโรค (ลูกประคบ) ร้อยละ 100 2. ผู้สูงอายุและผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มากกว่าร้อยละ 10 ของผู้ป่วยนอกทั้งหมด

 

2 2. เพื่อลดการใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยนอกลดลง
ตัวชี้วัด : 3. อัตราการใช้ยาแก้ปวด และใช้ยากลุ่มต้านอาการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (Nonsteroidal Anti-Inflammatory Drugs: NSAIDs) ในกลุ่มผู้ป่วยนอกลดลง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลรักษาสุขภาพ (2) 2. เพื่อลดการใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยนอกลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ และสาธิตการทำยาสมุนไพรในการรักษาบรรเทาโรค (2) กิจกรรมการให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องการใช้สมุนไพรดูแลสุขภาพ และสาธิตการทำยาสมุนไพรในการรักษาบรรเทาโรค (ลูกประคบ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ตำบลศาลาใหม่ ปี 2564 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 64-L2487-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.อัสมา แวอารง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด