กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ภาคทฤษฎี เกี่ยวกับพฤติกรรมด้านสุขาภิบาลอาหารแก่เป้าหมายและสาธิตการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและดำเนินการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารจากกลุ่มตัวอย่าง31 มีนาคม 2564
31
มีนาคม 2564รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนสุขภาพตำบลอบต.ยะหา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  2. แต่งตั้งคณะกรรมการฯ / ประชุมและวางแผนการดำเนินงาน
  3. ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อ
  4. ประสัมพันธ์โครงการ
  5. การดำเนินโครงการ 5.1 จัดอบรมให้ความรู้ภาคทฤษฎี เกี่ยวกับพฤติกรรมด้านสุขาภิบาลอาหารแก่เป้าหมาย 5.2 สาธิตการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและดำเนินการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารจากกลุ่มตัวอย่าง 5.3 สรุปประเมินผลกิจกรรมดำเนินการของโครงการ

จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา จำนวน 25,250 .- บาท รายละเอียดดังนี้

  1. ค่าป้ายไวนิลโครงการ จำนวน1 ผืน ๆ ละ 800 บาท เป็นเงิน800 บาท
  2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 100 คนๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน 5,000 บาท
  3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 100 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ50 บาทเป็นเงิน 5,000 บาท
  4. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
    1. ค่าอุปกรณ์ทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ประกอบด้วย 5.1 ชุดทดสอบสารฟอร์มาลินในอาหาร จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน250บาท 5.2 ชุดทดสอบซัลไฟต์ (สารฟอกขาว) ในอาหาร จำนวน 1 ชุดเป็นเงิน400บาท 5.3 ชุดทดสอบสารบอแรกซ์ในอาหาร จำนวน1 ชุดเป็นเงิน400บาท 5.4 ชุดทดสอบยีสต์และเชื่อราในอาหารจำนวน1 ชุด เป็นเงิน700บาท 5.5 ชุดทดสอบสีสังเคราะห์ในอาหาร จำนวน1 ชุดเป็นเงิน800บาท 5.6 ชุดทดสอบซาลิซิลิค (สารกันรา) ในอาหาร จำนวน1 ชุดเป็นเงิน550บาท 5.7 ชุดทดสอบสารเคมีกำจัดแมลงในผัก ผลไม้ จำนวน1 ชุดเป็นเงิน 1,800 บาท 5.8 ชุดทดสอบโคลิฟอร์มในอาหาร จำนวน1 ชุดเป็นเงิน 1,950 บาท
  5. ค่าเอกสารพร้อมอุปกรณ์การอบรม จำนวน 100 ชุด ๆ ละ 40 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 25,250 บาท
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. อย.น้อย ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการเลือกซื้อ เลือกบริโภคอย่างถูกต้อง
  2. เกิดการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
  3. เด็กและเยาวชน มีพฤติกรรมการเลือกซื้อ และเลือกบริโภคอย่างถูกต้อง