โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
1.นายกูมูสอดกูหลง2.นางสาวเจ๊ะฮาบีบ๊ะ เถาวัลย์ 3.นางสาวชาริดา เนื่้ออ่อน 4.นายอับดุลกอเดช อัสนีย์ 5.นายมอราด แดงคง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2560 ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2560 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,330.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถาบันการศึกษาตาดีกา (ศูนย์อบรมการศึกษาอิสลามประจำมัสยิด) ญามีอุ้นอิควานียะห์ ประกอบด้วยบุคลากรและนักเรียนรวมทั้งสิ้น 137 คน เปิดทำการเรียนการสอนประจำวันอาทิตย์(สัปดาห์ละหนึ่งวัน) ในหนึ่งปีมีเวลาเรียนทั้งสิ้นประมาณ 42 สัดาห์ ในแต่ละสัปดาห์ก็จะมีกลุ่มพ่อค้าแม่ค้านำสินค้ามาจำหน่ายขนมขบเคี้ยว อาหารว่างต่างๆ และนักเรียนบางคนยังได้นำอาหารบางส่วนมาจากบ้านที่มีการบรรจุถุงพลาสติกเป็นส่วนใหญ่ จึงก่อให้เกิดขยะมูลฝอยจำนวนมากมายในแต่ละสัปดาห์
ศูนย์ตาดรกา ญามีอุ้ลอิควานียะห์ บ้านทุ่ง จึงเล็งเห็นว่าควรจะจัดทำโครงการกำจัดขยะขึ้น เพื่อแก้ปัญหาขยะล้นโรงเรียน สอนให้นักเรียนรู้จักการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าซึ่งกิจกรรมที่สามารถมองเห็นได้เด่นชัด ได้แก่ การรณรงค์ให้คัดแยกขยะ การเลือกและการวางแผนการจัดการขยะที่เหมาะสม ถึงแม้ว่าปัจจุบันเทคโนโลยี การกำจัดขยะมูลฝอยมีความก้าวหน้าอย่างยิ่ง และได้พัฒนาขึ้นถึงขั้นเป็นเทคนิคชั้นสูงแล้วก็ตาม การลดปริมาณขยะและการนำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่อย่างคุ้มค่า ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่ควรพิจารณาควบคู่กันไปด้วย อย่างไรก็ตาม ความสำเร็จของการคัดแยกขยะ เพื่อหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่นี้ขึ้นอยู่กับจิตสำนึกของบุคคลที่มีผลพวงมาจากการให้การศึกษาอย่างถูกวิธีวันนี้เยาวชนเป็นความหวังหนึ่งที่ต้องสร้างให้เกิดความตระหนัก ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะ เพื่อนำไปสู่การจัดการอย่างถูกต้องถูกวิธี ซึ่งกิจกรรมหนึ่งที่จะก่อให้เกิดความร่วมมือและพร้อมใจกันฝึกฝนอย่างใส่ใจ และเกิดประโยชน์โดยตรงและทันที นั่นก็คือส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและแยกประเภทของขยะรีไซเคิลได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี และเหมาะสมกับขยะแต่ละประเภท
- เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจถึงวิธีการจัดการอย่างถูกต้องกับขยะที่สามารถหมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่
- เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม
- สร้างความมีระเบียบวินัยและความเคยชินในการคัดแยกขยะ
- เพื่อให้นักเรียนได้มีความเข้าใจเรื่องการจัดการและการทำงานเป็นหมู่คณะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนและประชาชนเกิดแนวคิดที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอย และเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ว่าวัสดุบางประเภท สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้ง
2.ได้แนวทางและรูปแบบการจัดการกิจกรรมเพื่อปลุกจิตสำนึกด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสถาพปํญหาของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
3.การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภูมิปัญญาของบุคลากร หน่วยงานและองค์กรในท้องถิ่น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและแยกประเภทของขยะรีไซเคิลได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนทิ้งขยะลงถังตามประเภทของขยะ คือ
1.1 ขวดพลาสติก
1.2 ถุงพลาสติก
1.3 แก้วน้ำพลาสติก
2
เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี และเหมาะสมกับขยะแต่ละประเภท
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนนำขยะประเภทกระดาษ ขวดพลาสติกและแก้วน้ำพลาสติกไปรีไซเคิล
2. นักเรียนนำห่อขนมขบเคี้ยวใส่ถุงดำเพื่อให้หน่วยงาน อบต.ฉลุง นำไปทำลายตามกระบวนการต่อไป
3
เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจถึงวิธีการจัดการอย่างถูกต้องกับขยะที่สามารถหมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัด : นักเรียนนำขยะประเทกระดาษ ขวดพลาสติกและแก้วน้ำพลาสติกไปจำหน่ายแล้วนำมาสมบททุนในโครงการอาหารกลางวัน
4
เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนนำห่อขนมขบเคี้ยวใส่ถุงดำเพื่อให้หน่วยงาน อบต.ฉลุง นำไปทำลายตามกระบวนการต่อไป
5
สร้างความมีระเบียบวินัยและความเคยชินในการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด : นักเรียนต้องนำขยะที่เก็บได้มาชั่งกิโลเพื่อบันทึกปริมาณและนำไปจำหน่ายเพื่อนำมาเป็นรายได้ของนักเรียน
6
เพื่อให้นักเรียนได้มีความเข้าใจเรื่องการจัดการและการทำงานเป็นหมู่คณะ
ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนจะสมัครสมานสามัคคีกันในการรักษาความสะอาดห้องใครห้องมัน
2.แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ ให้ทำการดูแลเป็นโซน ๆ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและแยกประเภทของขยะรีไซเคิลได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี และเหมาะสมกับขยะแต่ละประเภท (3) เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจถึงวิธีการจัดการอย่างถูกต้องกับขยะที่สามารถหมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่ (4) เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม (5) สร้างความมีระเบียบวินัยและความเคยชินในการคัดแยกขยะ (6) เพื่อให้นักเรียนได้มีความเข้าใจเรื่องการจัดการและการทำงานเป็นหมู่คณะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( 1.นายกูมูสอดกูหลง2.นางสาวเจ๊ะฮาบีบ๊ะ เถาวัลย์ 3.นางสาวชาริดา เนื่้ออ่อน 4.นายอับดุลกอเดช อัสนีย์ 5.นายมอราด แดงคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน ”
ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
1.นายกูมูสอดกูหลง2.นางสาวเจ๊ะฮาบีบ๊ะ เถาวัลย์ 3.นางสาวชาริดา เนื่้ออ่อน 4.นายอับดุลกอเดช อัสนีย์ 5.นายมอราด แดงคง
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2560 ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2560 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,330.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถาบันการศึกษาตาดีกา (ศูนย์อบรมการศึกษาอิสลามประจำมัสยิด) ญามีอุ้นอิควานียะห์ ประกอบด้วยบุคลากรและนักเรียนรวมทั้งสิ้น 137 คน เปิดทำการเรียนการสอนประจำวันอาทิตย์(สัปดาห์ละหนึ่งวัน) ในหนึ่งปีมีเวลาเรียนทั้งสิ้นประมาณ 42 สัดาห์ ในแต่ละสัปดาห์ก็จะมีกลุ่มพ่อค้าแม่ค้านำสินค้ามาจำหน่ายขนมขบเคี้ยว อาหารว่างต่างๆ และนักเรียนบางคนยังได้นำอาหารบางส่วนมาจากบ้านที่มีการบรรจุถุงพลาสติกเป็นส่วนใหญ่ จึงก่อให้เกิดขยะมูลฝอยจำนวนมากมายในแต่ละสัปดาห์ ศูนย์ตาดรกา ญามีอุ้ลอิควานียะห์ บ้านทุ่ง จึงเล็งเห็นว่าควรจะจัดทำโครงการกำจัดขยะขึ้น เพื่อแก้ปัญหาขยะล้นโรงเรียน สอนให้นักเรียนรู้จักการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าซึ่งกิจกรรมที่สามารถมองเห็นได้เด่นชัด ได้แก่ การรณรงค์ให้คัดแยกขยะ การเลือกและการวางแผนการจัดการขยะที่เหมาะสม ถึงแม้ว่าปัจจุบันเทคโนโลยี การกำจัดขยะมูลฝอยมีความก้าวหน้าอย่างยิ่ง และได้พัฒนาขึ้นถึงขั้นเป็นเทคนิคชั้นสูงแล้วก็ตาม การลดปริมาณขยะและการนำขยะรีไซเคิลกลับมาใช้ใหม่อย่างคุ้มค่า ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่ควรพิจารณาควบคู่กันไปด้วย อย่างไรก็ตาม ความสำเร็จของการคัดแยกขยะ เพื่อหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่นี้ขึ้นอยู่กับจิตสำนึกของบุคคลที่มีผลพวงมาจากการให้การศึกษาอย่างถูกวิธีวันนี้เยาวชนเป็นความหวังหนึ่งที่ต้องสร้างให้เกิดความตระหนัก ความเข้าใจ ในการคัดแยกขยะ เพื่อนำไปสู่การจัดการอย่างถูกต้องถูกวิธี ซึ่งกิจกรรมหนึ่งที่จะก่อให้เกิดความร่วมมือและพร้อมใจกันฝึกฝนอย่างใส่ใจ และเกิดประโยชน์โดยตรงและทันที นั่นก็คือส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและแยกประเภทของขยะรีไซเคิลได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี และเหมาะสมกับขยะแต่ละประเภท
- เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจถึงวิธีการจัดการอย่างถูกต้องกับขยะที่สามารถหมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่
- เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม
- สร้างความมีระเบียบวินัยและความเคยชินในการคัดแยกขยะ
- เพื่อให้นักเรียนได้มีความเข้าใจเรื่องการจัดการและการทำงานเป็นหมู่คณะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนและประชาชนเกิดแนวคิดที่ดีต่อการจัดการขยะมูลฝอย และเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ว่าวัสดุบางประเภท สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้หลายครั้ง 2.ได้แนวทางและรูปแบบการจัดการกิจกรรมเพื่อปลุกจิตสำนึกด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสถาพปํญหาของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน 3.การมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากภูมิปัญญาของบุคลากร หน่วยงานและองค์กรในท้องถิ่น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและแยกประเภทของขยะรีไซเคิลได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนทิ้งขยะลงถังตามประเภทของขยะ คือ 1.1 ขวดพลาสติก 1.2 ถุงพลาสติก 1.3 แก้วน้ำพลาสติก |
|
|||
2 | เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี และเหมาะสมกับขยะแต่ละประเภท ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนนำขยะประเภทกระดาษ ขวดพลาสติกและแก้วน้ำพลาสติกไปรีไซเคิล 2. นักเรียนนำห่อขนมขบเคี้ยวใส่ถุงดำเพื่อให้หน่วยงาน อบต.ฉลุง นำไปทำลายตามกระบวนการต่อไป |
|
|||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจถึงวิธีการจัดการอย่างถูกต้องกับขยะที่สามารถหมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่ ตัวชี้วัด : นักเรียนนำขยะประเทกระดาษ ขวดพลาสติกและแก้วน้ำพลาสติกไปจำหน่ายแล้วนำมาสมบททุนในโครงการอาหารกลางวัน |
|
|||
4 | เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม ตัวชี้วัด : นักเรียนนำห่อขนมขบเคี้ยวใส่ถุงดำเพื่อให้หน่วยงาน อบต.ฉลุง นำไปทำลายตามกระบวนการต่อไป |
|
|||
5 | สร้างความมีระเบียบวินัยและความเคยชินในการคัดแยกขยะ ตัวชี้วัด : นักเรียนต้องนำขยะที่เก็บได้มาชั่งกิโลเพื่อบันทึกปริมาณและนำไปจำหน่ายเพื่อนำมาเป็นรายได้ของนักเรียน |
|
|||
6 | เพื่อให้นักเรียนได้มีความเข้าใจเรื่องการจัดการและการทำงานเป็นหมู่คณะ ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนจะสมัครสมานสามัคคีกันในการรักษาความสะอาดห้องใครห้องมัน 2.แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ ให้ทำการดูแลเป็นโซน ๆ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและแยกประเภทของขยะรีไซเคิลได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี และเหมาะสมกับขยะแต่ละประเภท (3) เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจถึงวิธีการจัดการอย่างถูกต้องกับขยะที่สามารถหมุนเวียนนำกลับมาใช้ใหม่ (4) เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงผลเสียที่จะก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยของมนุษย์ หากมีการจัดการขยะอย่างไม่เหมาะสม (5) สร้างความมีระเบียบวินัยและความเคยชินในการคัดแยกขยะ (6) เพื่อให้นักเรียนได้มีความเข้าใจเรื่องการจัดการและการทำงานเป็นหมู่คณะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( 1.นายกูมูสอดกูหลง2.นางสาวเจ๊ะฮาบีบ๊ะ เถาวัลย์ 3.นางสาวชาริดา เนื่้ออ่อน 4.นายอับดุลกอเดช อัสนีย์ 5.นายมอราด แดงคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......