กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง


“ โครงการบ้านสะอาดไร้ขยะปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดโรค ปี 2564 ”

ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางฮามีด๊ะ ละสุสามา

ชื่อโครงการ โครงการบ้านสะอาดไร้ขยะปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดโรค ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4155-02-08 เลขที่ข้อตกลง 008/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านสะอาดไร้ขยะปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดโรค ปี 2564 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านสะอาดไร้ขยะปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดโรค ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านสะอาดไร้ขยะปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดโรค ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 64-L4155-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ สาเหตุหนึ่งที่ทำให้ปัญหาโรคไข้เลือดออกยังคงคุกคามชีวิตคือ การไม่เอาใจใส่ถึงพิษภัยของโรคไข้เลือดออก ของคนในชุมชนทำให้ไม่มีการตื่นตัวในการร่วมกันป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ซึ่งที่จริงแล้วมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกคนต้องมีส่วนรับรู้ถึงภัยร้ายของโรคไข้เลือดออกในชุมชนของตนเอง จะด้วยวิธีใดๆก็ตามหรือผ่านสื่อต่างๆในชุมชน เพื่อให้เกิดการตื่นตัวตลอดเวลา การจัดการบ้านเรือนที่พักอาศัยให้ปลอดจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เป็นวิธีป้องกันที่ดีที่สุด ถ้าทุกคนได้ร่วมแรงร่วมใจทำกิจกรรมให้บ้านทุกบ้านสะอาด ปลอดขยะ จะช่วยลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โรคไข้เลือดออกก็จะไม่เกิดในชุมชนที่อาศัยได้ ตำบลกาลูปังยังเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีความเสี่ยงการระบาดของโรคไข้เลือดออก จากสถิติมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ในปี 2559 - 2561 เท่ากับ 0.00,214.90 และ 501.42 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วย ในปี 2559 พบผู้ป่วย 0 ราย ปี 2560 พบ 1 ราย ในปี 2561 พบผู้ป่วย 14 ราย ในปี 2562 ปี 2563 และปี 2564 ยังไม่พบผู้ป่วย ไม่มีผู้ป่วยตาย เป็นผลมาจากที่ทุกคนในตำบลกาลูปังร่วมใจปฏิบัติตามนโยบาย รามันสะอาด ด้วยการสนับสนุนจาก อบต.กาลูปัง ผู้นำชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคน ก็เป็นได้ แต่การระบาดของโรคไข้เลือดออกยังคงต้องเฝ้าระวังต่อไปส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือน มีนาคม – กันยายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดี และชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวันจึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การป้องกันโรคไข้เลือดออกจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจาก ชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่นๆ ที่จะช่วยกันรณรงค์ ทำบ้านทุกๆบ้าน ชุมชนทุกๆชุมชนให้สะอาด ปลอดขยะ และไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลกาลูปัง จึงเล็งเห็นความสำคัญของการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกจึงได้จัดทำโครงการบ้านสะอาดไร้ขยะปลอดลูกน้ำยุงลายปลอดโรคปี 2564 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างความเข้าใจและพึงเฝ้าระวังการเกิดโรคไขเลือดออกในครอบครัวและชุมชน 2. เพื่อสร้างจิตสำนึกการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในบ้านตนเองและชุมชนทุก ๆ วันศุกร์ 3. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมภายในบ้านและบริเวณบ้านให้ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 4.เพื่อส่งเสริมให้ อสม.มีบทบาทหน้าที่ในการรณรงค์ ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคและการส่งเสริมสุขภาพให้ห่างไกลจากอันตรายของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดฝึกอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและการป้องกันโรคโดยชุมชน 2 .ประชาชนในพื้นที่ มีการทำความสะอาดบ้านเรือนกำจัดขยะ ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
  2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างความเข้าใจและพึงเฝ้าระวังการเกิดโรคไขเลือดออกในครอบครัวและชุมชน 2. เพื่อสร้างจิตสำนึกการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในบ้านตนเองและชุมชนทุก ๆ วันศุกร์ 3. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมภายในบ้านและบริเวณบ้านให้ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 4.เพื่อส่งเสริมให้ อสม.มีบทบาทหน้าที่ในการรณรงค์ ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคและการส่งเสริมสุขภาพให้ห่างไกลจากอันตรายของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความเข้าใจและพึงเฝ้าระวังการเกิดโรคไขเลือดออกในครอบครัวและชุมชน 2. เพื่อสร้างจิตสำนึกการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในบ้านตนเองและชุมชนทุก ๆ วันศุกร์ 3. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมภายในบ้านและบริเวณบ้านให้ปราศจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย 4.เพื่อส่งเสริมให้ อสม.มีบทบาทหน้าที่ในการรณรงค์ ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคและการส่งเสริมสุขภาพให้ห่างไกลจากอันตรายของโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดฝึกอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านสะอาดไร้ขยะปลอดลูกน้ำยุงลาย ปลอดโรค ปี 2564 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 64-L4155-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮามีด๊ะ ละสุสามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด