กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่


“ โครงการการจัดการขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนบ้านใสประดู่ ”

ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายจรัญ เกลาแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนบ้านใสประดู่

ที่อยู่ ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3366-2-01 เลขที่ข้อตกลง 14/2564

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนบ้านใสประดู่ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปู่ อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนบ้านใสประดู่



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการเกิดโรคที่เกิดจากขยะ (2) เพื่อลดขยะในชุมชนบ้านไสประดู่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ (2) ประชุม/อบรมให้ความรู้ (3) สรุปและประเมินผล ปัญหา/อุปสรรค 1.ประชาชนบางส่วนยังขาดความตระหนักเรื่องการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมบ้าน และสมัครเข้าร่วมโครงการต่ำกว่าเป้าหมายที่วางไว้ 2.งบประมาณไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลปัจจุบันพบว่าปัญหาขยะของชุมชนบ้านใสประดู่เป็นปัญหาหลักของชุมชนโดยในปัจจุบันมีปริมาณขยะ ร้อยละ 80 ของขยะทั้งหมดมีกระบวนการในการกำจัดโดยการเผา และการนำไปทิ้งในที่สาธารณะ ยังขาดการจัดการที่เป็นระบบและถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลและมีจุดเสี่ยงมีการนำขยะมากองไว้ในที่สาธารณะ ไม่มีการจัดการส่งผลกระทบไปในอีกหลายๆปัญหา เช่น ปัญหาการหมักหมมของขยะในที่สาธารณะเกิดกลิ่นเหม็น นอกจากนี้ยังมีขยะทิ้งอยู่ข้างถนนริมสวนยาง บริเวณใกล้บ้านทิ้งขยะเช่นกระป๋อง แก้ว ถุงพลาสติก หรือภาชนะอื่นๆเมื่อมีฝนตกมีน้ำขังในภาชนะเกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ซึ่งเป็นต้นเหตุของโรคไข้เลือดออกและชุมชนบ้านใสประดู่ยังเป็นพื้นที่ซึ่งเกิดโรคไข้เลือดออกระบาดในปี 2561 และ ปี 2562,2563ก็พบผู้ป่วย ซึ่งจากการลงพื้นที่ป้องกันและควบคุมโรคพบว่า มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย เกินเกณฑ์ซึ่งเมื่อสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ลุกน้ำยุงลาย พบว่ามีแหล่งน้ำขังจากขยะประเภทต่างๆ ที่ทิ้งไว้ข้างบ้าน และกองขยะในที่สาธารณะ เช่นบริเวณศาลาหมู่บ้าน วัด และโรงเรียน ซึ่งยังไม่มีการคัดแยกและจัดการขยะผลกระทบจากโรคไข้เลือดออกทำให้ประชาชนในชุมชนเสียค่าใช้จ่ายรักษาพยาบาลนอกจากนี้ยังส่งผลต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่สวยงามเป็นแหล่งที่อยู่ของสัตว์และแมลงมีพิษเมื่อมีฝนตกก็มีการชะล้างเอาสิ่งสกปรกลงไปในลำห้วยหลักของหมู่บ้าน ทำให้เกิดภาวะน้ำเสีย ประชาชนใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำไม่ได้ ส่งผลทางด้านเศรษฐกิจ มีรายจ่ายในเรื่องของการเฝ้าระวังและรักษาโรคที่เกิดจากปัญหาขยะดังนั้นชมรมอสม.ตำบลเขาปู่ จึงได้จัดทำโครงการการจัดการขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนบ้านใสประดู่ ขึ้น เพื่อพัฒนาให้หมู่บ้านใสประดู่เป็นชุมชนต้นแบบเรื่องการจัดการขยะ และลดโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการเกิดโรคที่เกิดจากขยะ
  2. เพื่อลดขยะในชุมชนบ้านไสประดู่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์
  2. ประชุม/อบรมให้ความรู้
  3. สรุปและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ขยะในครัวเรือน ชุมชน ลดลงบ้านใสประดู่เป็นชุมชนสะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลผลิต 1.มีคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานจัดการขยะในหมู่บ้าน จำนวน 15 คน 2.จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 ครัวเรือน ร้อยละ 43.48 ของครัวเรือน 3.จัดกิจกรรมรณรงค์จัดการขยะและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน และวัด จำนวน 2 ครั้ง ผลลัพธ์ 1.ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ สามารถคัดแยกขยะในครัวเรือนได้ถูกต้อง ส่งผลให้ขยะในชุมชนมีปริมาณลดลง 2.หมู่ที่ 2 บ้านใสประดู่ผ่านเป็นหมู่บ้านต้นแบบการจัดการขยะในชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการเกิดโรคที่เกิดจากขยะ
ตัวชี้วัด : -การเกิดโรคจากขยะลดลงร้อยละ 70
0.00

 

2 เพื่อลดขยะในชุมชนบ้านไสประดู่
ตัวชี้วัด : -เกิดกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะ -ร้อยละ 50 ของครัวเรือน เข้าร่วมและสมัครเข้าร่วมโครงการ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการเกิดโรคที่เกิดจากขยะ (2) เพื่อลดขยะในชุมชนบ้านไสประดู่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ (2) ประชุม/อบรมให้ความรู้ (3) สรุปและประเมินผล ปัญหา/อุปสรรค 1.ประชาชนบางส่วนยังขาดความตระหนักเรื่องการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมบ้าน และสมัครเข้าร่วมโครงการต่ำกว่าเป้าหมายที่วางไว้ 2.งบประมาณไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม ชุมชนบ้านใสประดู่ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 64-L3366-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจรัญ เกลาแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด